งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายสาธารณสุข

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายสาธารณสุข"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายสาธารณสุข
09/04/60 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายสาธารณสุข รายวิชา: จริยธรรมวิชาชีพ และกฎหมายสาธารณสุข (Ethics and Law in Public Health) รหัสวิชา: อ. ธนัชพร มุลิกะบุตร

2 1. ความรู้เกี่ยวกับกฎหมาย
09/04/60 1. ความรู้เกี่ยวกับกฎหมาย บรรทัดฐาน (Norms) วิถีประชา (Folkways) กฎศีลธรรม (Mores) กฎหมาย (Laws) ปฏิบัติกันจนเคยชิน ไม่ต้องรับโทษ นอกจากการนินทา เช่น มารยาท เปลี่ยนแปลงได้ยากกว่าวิถีประชา เช่น การมีภรรยาน้อย ไม่ผิดกฎหมาย แต่ขัดศีลธรรม บรรทัดฐาน ในสังคมจำเป็นต้องสร้างกฎเกณฑ์ต่างๆ ขึ้น เพื่อควบคุมความประพฤติของคนในสังคม รักษาความเป็นระเบียบเรียบร้อยของสังคม แบ่งเป็น 3 ประเภท คือ วิถีประชา ปฏิบัติกันจนเคยชิน ไม่ต้องมีศีลธรรมและกฎหมายบังคับ ไม่ต้องรับโทษทัณฑ์ นอกจากได้รับการตินินทา เช่น มารยาทต่างๆ (การแต่งการร่วมงานศพ) กฎศีลธรรม คล้ายกับวิถีประชา แต่เปลี่ยนแปลงได้ยากกว่าวิถีประชา เช่น การเป็นภรรยาน้อย ไม่ผิดกฎหมาย แต่ขัดกับศีลธรรมของไทย กฎหมาย เป็นเครื่องมือชนิดหนึ่งใช้จัดระเบียบสังคม ซึ่งใครทำผิดจะได้รับโทษ จัดระเบียบสังคม ใครทำผิดได้รับโทษ

3 1.1 ความหมายของกฎหมาย กฎที่สถาบันหรือผู้มีอำนาจสูงสุดในรัฐตราขึ้น หรือที่เกิดขึ้นจากจารีตประเพณีอันเป็นที่ยอมรับนับถือ เพื่อใช้ในการบริหารประเทศ เพื่อใช้บังคับบุคคลให้ปฏิบัติตาม หรือเพื่อกำหนดระเบียบแห่งความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลหรือระหว่างบุคคลกับรัฐ. ราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒

4 กฎหมายตามเนื้อความ 1.2 ลักษณะของกฎหมาย (กฎหมายแท้)
09/04/60 1.2 ลักษณะของกฎหมาย กฎหมายตามเนื้อความ (กฎหมายแท้) ได้แก่ ข้อบังคับของรัฐ ใครทำผิดได้รับโทษ 1. มาจากมีผู้อำนาจสูงสุดในการตรา กฎหมาย 2. มีลักษณะเป็นคำสั่ง บังคับใช้ทุกคนในประเทศ 3. ต้องใช้ตลอดไปจนกว่าจะถูกยกเลิก 4. ข้อบังคับกำหนดความประพฤติของมนุษย์ ดูจิตใจอย่างเดียวไม่ได้ 5. ต้องมีบทบังคับ (ทางอาญา ทางเพ่ง) ข้อ 1 รัฐ จะเป็นรัฐได้ต้องมี ราษฎร อาณาเขต อำนาจอธิปไตย ข้อ 2 ยกเว้นพระมหากษัตริย์ ธวัชชัย สัตยสมบูรณ์, 2542

5 1.2 ลักษณะของกฎหมาย (ต่อ)
กฎหมายตามแบบพิธี ออกมาโดยวิธีบัญญัติกฎหมาย ไม่ต้องคำนึงว่าเข้าลักษณะกฎหมายแท้หรือไม่ ตราขึ้นโดยข้อกำหนดรัฐธรรมนูญ เพื่อประโยชน์ในงานบริหารราชการแผ่นดิน - การตราพระราชกฤษฎีกายุบสภาผู้แทนราษฎร, - พรบ.ปรับปรุง กระทรวง ทบวง กรม - พรบ.งบประมาณรายจ่ายแผ่นดิน หรือ ได้แก่ หยุด แสงอุทัย, 2538

6 1.3 ที่มาของกฎหมาย 1.3.1 กฎหมายลายลักษณ์อักษร (กฎหมายตามเนื้อความ)
รัฐตราขึ้นเพื่อบังคับกำหนดความประพฤติของบุคคลและประกาศให้ราษฎรทราบ ได้แก่ ก) กฎหมายตราขึ้นตามบทบัญญัติรัฐธรรมนูญ พระราช บัญญัติ พระราชกำหนด ข) ข้อบังคับกฎหมายฝ่ายบริหารเป็นผู้ออก พระราชกฤษฎีกา กฎ กระทรวง คำสั่ง/ข้อบังคับตามกฎอัยการศึก ค) ข้อบังคับที่องค์การปกครองตนเองเป็นผู้ออก อาศัยอำนาจแห่งกฎหมาย เทศบัญญัติ อบต. ข้อบังคับ ข้อบัญญัติจังหวัด และ กรุงเทพฯ ธวัชชัย สัตยสมบูรณ์, 2542

7 1.3 ที่มาของกฎหมาย (ต่อ) เหตุที่ทำให้กฎหมายนี้บังคับใช้ได้
09/04/60 1.3 ที่มาของกฎหมาย (ต่อ) กฎห มายที่ ไม่ได้ เป็น ลาย ลักษ ณ์ อักษร (กฎหม าย จารีต ประเพ ณี) รัฐไม่ได้ ตราขึ้น แต่ ราษฎร รู้สึกทั่ว กันว่า เป็น กฎหมา ยและรัฐ ได้บังคับ ใช้ เหตุที่ทำให้กฎหมายนี้บังคับใช้ได้ ก. ราษฎรมีเจตจำนงบังคับใช้ ข. ผู้มีอำนาจบัญญัติยอมรับกฎหมายดังกล่าว ค. ราษฎรมีความเห็นจริงว่าเป็นกฎหมาย ง.เป็นกฎหมายจริง ต่อเนื่องมาช้านาน ลักษณะกฎหมายจารีตประเพณี 1.ใช้ในลักษณะเดียวกัน 2.ใช้ต่อเนื่องช้านาน 3. ไม่มีกฎหมายลายลักษณ์อักษรแย้ง /ขัดกับกฎหมายดังกล่าว ตัวอย่าง คือ การผ่าตัดเพื่อช่วยเหลือคนไข้ โดยความยินยอมของคนไข้ ข้อจำกัด คือ สร้างความผิดขึ้นใหม่ไม่ได้ เพิ่มโทให้สูงขึ้นไม่ได้ เพิ่มหน้าที่กำหนดไม่ได้ ธวัชชัย สัตยสมบูรณ์, 2542

8 09/04/60 1.4 กฎหมายใช้เมื่อใด ย้อนหลังไปใช้ในอดีต (กฎหมายงบประมาณรายจ่ายประจำปี) บังคับใช้วันที่ลงประกาศในราชกิจจานุเบกษา บังคับใช้วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา บังคับใช้ในอนาคต - กำหนด วัน เดือน ปี ไว้แน่นอน - กำหนดให้ระยะเวลาหนึ่งผ่านพ้นไปก่อน จึงเริ่มบังคับใช้ ใช้ตามข้อ 3 แต่ใช้ท้องที่ใด เมื่อใด ต้องรอให้ออกพระราชกฤษฎีกา บางมาตราใช้ต่างเวลากัน ออกบทเฉพาะกาลไว้ท้ายกฎหมายนั้น ราชกิจจานุเบกษา เอกสารหลักในการแจ้งประกาศ กฎหมาย และคำสั่งของทางราชการให้ประชาชนได้ทราบ อย่างเป็นทางการตั้งแต่ในอดีต  พระราชกฤษฎีกา บทบัญญัติแห่งกฎหมายที่พระมหากษัตริย์ทรงตราขึ้นโดยอาศัยอำนาจตามรัฐธรรมนูญ พระราชบัญญัติ หรือพระราชกำหนด เพื่อใช้ในการบริหารราชการแผ่นดิน โดยคำแนะนำของคณะรัฐมนตรี มีศักดิ์ต่ำกว่ารัฐธรรมนูญ พระราชบัญญัติ ประมวลกฎหมาย และพระราชกำหนด

9 การยกเลิกกฎหมาย ตามกำหนดที่กฎหมายระบุไว้ มีกฎหมายใหม่ยกเลิกกฎหมายนั้น
เมื่อมีการออกพระราชกำหนด แต่รัฐสภาไม่อนุมัติ กฎหมายใหม่ซ้ำหรือกล่าวถึงเรื่องเดียวกัน (กฎหมายใหม่ยกเลิกกฎหมายเก่า) กฎหมายใหม่ขัดหรือแย้งกฎหมายเก่า การยกเลิกกฎหมายแม่บท

10 ความรับผิดทางแพ่ง 1.5 ความรับผิดตามกฎหมาย ลักษณะสัญญา
09/04/60 1.5 ความรับผิดตามกฎหมาย ความรับผิดทางแพ่ง ลักษณะสัญญา เกิดจากการละเมิด (ความประมาท)

11 ความรับผิดทางอาญา 1.5 ความรับผิดตามกฎหมาย ต่อชีวิตและร่างกาย
09/04/60 1.5 ความรับผิดตามกฎหมาย ปรากฏข้อเท็จจริงว่ากระทำโดยเจตนาหรือประมาท ความรับผิดทางอาญา ต่อชีวิตและร่างกาย ต่อการอยู่ร่วมกัน ฐานก่ออันตรายต่อชีวิตร่างกาย ต่อเสรีภาพ เกี่ยวกับเอกสาร กระทำต่อทรัพย์สิน

12 ข้อแตกต่าง กฎหมายเอกชน กฎหมายมหาชน ไม่จำเป็นต้องมีกฎหมายบัญญัติไว้
ความรับผิดทางแพ่ง ความรับผิดทางอาญา กฎหมายเอกชน กฎหมายมหาชน ไม่จำเป็นต้องมีกฎหมายบัญญัติไว้ มีกฎหมายบัญญัติไว้ชัดเจน มุ่งเยียวยาชดใช้ค่าสินไหมทดแทน มุ่งปราบปรามรักษาความสงบในสังคม ผู้เสียหายฟ้องคดีเอง รัฐเป็นผู้เสียหาย อัยการเป็นโจทย์ฟ้องคดี การลงโทษ ศาลใช้กฎหมายทั่งไปหรือใกล้เคียงมาบังคับใช้ ตีความทางกฎหมายโดยเคร่งครัด ใช้หลักจงใจหรือประมาทเลินเล่อ ใช้หลักเจตนาหรือประมาทโทษ

13 ข้อแตกต่าง จงใจไม่ต้องมีกฎหมายกำหนด สามารถเรียกร้องค่าเสียหายได้
ความรับผิดทางแพ่ง ความรับผิดทางอาญา จงใจไม่ต้องมีกฎหมายกำหนด สามารถเรียกร้องค่าเสียหายได้ เจตนาต้องมีกฎหมายกำหนดไว้ว่าเป็นความผิดถึงจะลงโทษได้ ผู้กระทำละเมิดตายทายาทยังต้องรับผิด มุ่งลงโทษผู้กระทำผิด ผู้กระทำผิดตายไม่สามารถฟ้องได้ คดีอาญาระงับ บุคคลไร้ความสามารถ รับผิดเต็มๆ ฟ้องบังคับเอากับผู้ดูแล หลักกฎหมายมีการยกเว้นโทษ (คนไร้ความสามารถ) การให้ความยินยอมสามารถยกเป็นข้อต่อสู้ได้ การให้ความยินยอมอาจไม่เป็นข้อแก้ตัว

14


ดาวน์โหลด ppt ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายสาธารณสุข

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google