ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยRak Aromdee ได้เปลี่ยน 9 ปีที่แล้ว
1
แก้ปัญหาพฤติกรรมการขาดความรับผิดชอบในการส่งงานโดยใช้หลักไตรสิกขา
อาจารย์บำเรอ ศรีสุขใส
2
ที่มาและความสำคัญของปัญหา
1. ปัญหาพฤติกรรมการขาดความรับผิดชอบในการส่งงานของ นักศึกษา 2.จากศึกษาพบว่าถ้าหากผู้เรียนมีพฤติกรรมด้านไตรสิกขา (ศีล สมาธิ ปัญญา)และมีวินัยในตนเอง ย่อมทำทุกสิ่งได้ประสบความสำเร็จ (สุมน อมรวิวัฒน์, 2533) 3. เพื่อพัฒนาผู้เรียนและปลูกจิตสำนึกให้ผู้เรียนมีความรับผิดชอบในการเรียนและมีวินัยในตนเองอันนำไปสู่ความรับผิดชอบต่อสังคม ต่อเพื่อนมนุษย์และการดำรงชีวิตอย่างมีระเบียบวินัยอยู่ในศีลธรรมอันดีซึ้งเป็นการพัฒนาที่แท้จริงและยั่งยืน
3
วัตถุประสงค์การวิจัย
เพื่อแก้ปัญหาพฤติกรรมการขาดความ รับผิดชอบในการส่งงานโดยใช้หลักไตรสิกขา
4
ขั้นตอนการวิจัย ระยะเวลา เดือน สัปดาห์ ขั้นตอนดำเนินการ ธันวาคม มกราคม
ระยะเวลา เดือน สัปดาห์ ขั้นตอนดำเนินการ ธันวาคม มกราคม 1 2 3 4 1. ตรวจสอบและวิเคราะห์ปัญหาการเรียนการสอน √ 2. ศึกษาแนวคิด ทฤษฎี งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 3. พัฒนานวัตกรรมเพื่อแก้ไขปัญหา 4. ดำเนินการวิจัย 4.1 ดำเนินการแก้ปัญหา 4.2 เก็บรวบรวมข้อมูล 4.3 วิเคราะห์ข้อมูล 5. เขียนรายงานผลการวิจัย
5
ผลการประเมินพฤติกรรมด้านศีล สมาธิ ปัญญา
ผลการประเมินพฤติกรรมด้านศีล สมาธิ ปัญญา รายการประเมิน ค่าร้อยละ ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 3 ครั้งที่ 4 ครั้งที่ 5 ครั้งที่ 6 ครั้งที่ 7 ครั้งที่ 8 จำนวน 1. เข้า-ออกห้องเรียนตรง เวลา 91.42 94.28 25.71 97.14 35 2. มีอุปกรณ์การเรียน ครบ 82.85 3.ทำงานเป็นระเบียบ 4.ส่งงานตรงเวลา 80.00 77.14 5.ผลงานสะอาด 6.ไม่คุย ไม่เล่นขณะเรียน 7.ซักถามเมื่อมีข้อสงสัย 42.85 28.57 14.28 5.71 11.42 8.ช่วยเหลือผู้อื่น 57.14 71.42 9.นำความรู้ไปใช้ในการ ทำแบบฝึกหัดเรื่องต่างๆ ที่เรียน
6
กรอบแนวคิดในการวิจัย
แก้ปัญหาพฤติกรรมของผู้เรียนในด้านความประพฤติ การขาดความรับผิดชอบและการไม่เอาใจใส่ในการเรียน จึงจะใช้หลักไตรสิกขาในการพัฒนาพฤติกรรมของผู้เรียนเพื่อให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ ทั้งกายและใจ โดยจัดการเรียนรู้แบบสร้างสรรค์ความรู้ในการฝึกทักษะทางภาษาทั้ง 4 ด้าน คือ การฟัง พูด อ่าน และเขียน
7
กรอบแนวคิดในการวิจัย
1. ประชากร นักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3 วิทยาลัยอาชีวศึกษาสันติราษฎร์ ในพระอุปถัมภ์ฯ กรุงเทพมหานคร 2. กลุ่มตัวอย่าง นักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3 ห้อง 2 สาขาคอมพิวเตอร์ 35 คน โดยการสุ่มแบบเจาะจง
8
ผลการวิจัย ผู้เรียนมีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม มีความกระตือรือร้น สนใจการเรียนมากขึ้น หรือมาเข้าห้องเรียนตรงเวลาทุกคนมีอุปกรณ์การเรียนครบ ส่งงานตรงเวลามากขึ้น ไม่คุย ไม่เล่นขณะเรียน กล้าซักถาม ตอบข้อซักถามได้ถูกต้องมากขึ้น ผู้เรียนมีความสุขในการเรียน ชอบทำกิจกรรมกลุ่ม
9
ประโยชน์ที่ได้รับจากการศึกษาวิจัย
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยหลักไตรสิกขามีความเหมาะสมที่จะใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ด้านกิจกรรม กิจกรรมหลากหลาย เหมาะสมกับความสนใจและวัยของผู้เรียน สามารถพัฒนาพฤติกรรมด้านศีล สมาธิ ปัญญาของนักเรียนกลุ่มเป้าหมายได้ ด้านผู้สอนได้ออกแบบและคิดวางแผนการจัดกิจกรรมให้หลากหลายเพื่อกระตุ้นความสนใจของผู้เรียน ด้านผู้เรียนมีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม มีความกระตือรือร้น สนใจการเรียนมากขึ้น ส่งงานตรงเวลา
10
ขอบคุณครับ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.