งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

เอกรัฐ บูรณะถาวรสม นักวิชาการคอมพิวเตอร์ เมษายน 2557

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "เอกรัฐ บูรณะถาวรสม นักวิชาการคอมพิวเตอร์ เมษายน 2557"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 เอกรัฐ บูรณะถาวรสม นักวิชาการคอมพิวเตอร์ 28-29 เมษายน 2557
Refer Back, Forward, Denial, Quality and Timetable in ThaiRefer เอกรัฐ บูรณะถาวรสม นักวิชาการคอมพิวเตอร์ เมษายน 2557

2 Refer Back มี 2 แบบ คือ Refer Back โดยที่มีการส่งข้อมูล Refer in เข้ามาก่อน  ให้ส่งกลับโดย Search Engine, double click ดูข้อมูลผู้ป่วย, แล้วกดปุ่มส่งกลับในชุดข้อมูลที่ Refer in เข้ามา Refer Back แต่ไม่มีการส่งข้อมูล Refer in เข้ามาก่อน  ให้กดปุ่ม ส่งกลับ บน Menu ด้านซ้ายมือบน

3 Search Engine

4 สามารถค้นหาด้วย ชื่อ นามสกุล เลขที่บัตรประชาชน เลขที่ใบส่งตัว สถานพยาบาลต้นทาง

5 Refer Back (แบบที่มี Refer in เข้ามาก่อน)
Pop up ที่ visit รพ.ปลายทาง ส่งกลับจาก ER/OPD ถือว่าเป็นผู้ป่วยนอก กรณีส่งกลับจาก ward ถือเป็นผู้ป่วยใน

6 Refer back ข้อมูลที่ Refer in และ Refer Back
ถูกเก็บเป็นข้อมูลชุดเดียวกัน Refer back Refer in จุดบริการที่ทำการส่งกลับ, สถานพยาบาลที่ต้องการส่งกลับ default อัตโนมัติ กรอกวิธีการเคลื่อนย้าย, การนำส่ง, เหตุผลการส่งกลับ Refer Back

7 Refer back

8 จะถูกแนบโดยอัตโนมัติเมื่อทำการ Refer Back
ข้อมูลการใช้ยาที่รพ.ปลายทาง ผล Lab ของรพ.ปลายทาง ผล x-ray, CT scan ที่อ่านโดยรังสีแพทย์

9 ระบบ Refer back พิมพ์ใบส่งกลับ บันทึก

10 อย่าลืมให้แพทย์เซ็นต์ชื่อและประทับตราโรงพยาบาลด้วยนะคะ
ใบส่งกลับ อย่าลืมให้แพทย์เซ็นต์ชื่อและประทับตราโรงพยาบาลด้วยนะคะ

11 ส่งกลับ สัญลักษณ์แถบสีน้ำตาลในหน้าส่ง

12 ระบบปฏิเสธการส่งต่อ เหตุผลการปฏิเสธ เตียงเต็ม ไม่มี Respirator
มีศักยภาพ แต่แพทย์เฉพาะทางไม่อยู่ เกินศักยภาพของโรงพยาบาลปลายทาง สามารถรักษาที่โรงพยาบาลต้นทางได้ อื่นๆ

13 ตัวอย่าง : หน้าส่ง ถูกปฏิเสธโดยโรงพยาบาลปลายทาง

14 แบบประเมินคุณภาพ การส่งต่อ/ระหว่างส่งต่อ

15 แบบประเมินคุณภาพ การส่งต่อ/ระหว่างส่งต่อ

16 นำข้อมูลคุณภาพการส่งต่อ มาวิเคราะห์ผลย้อนหลังได้

17 รายงานการประเมินคุณภาพ

18 Time table เพื่อวัดประสิทธิภาพการประสานงานแบบองค์รวม
เวลาที่ส่งข้อมูลจากต้นทาง = สีเทา เวลาที่ข้อมูลขึ้นเตือนที่ปลายทาง = สีส้มอ่อน เวลาที่ปลายทางเปิดอ่าน = สีเหลือง เวลาที่ประสานงานสำเร็จ = สีฟ้า ตัวอย่าง : การประสานผู้ป่วยสำเร็จ 4 นาที

19 Time table เพื่อวัดประสิทธิภาพการประสานงานแบบองค์รวม
Machine ความเร็ว Internet/ Server เวลาสีส้มอ่อน เวลาสีเทา คุณภาพ/การปฏิบัติงาน ของจนท.ศูนย์ส่งต่อ Manpower เวลาสีเหลือง เวลาสีส้มอ่อน รายละเอียดเพิ่มเติม/ ระบบการ consult เวลาสีฟ้า เวลาสีเหลือง Method เวลาสีฟ้า เวลาสีเทา เวลาที่ใช้ในการประสานงานสำเร็จ Management 4M Analysis

20 Time table จำแนกตาม Triage (นาที)
Manpower

21

22 ขอบคุณครับ


ดาวน์โหลด ppt เอกรัฐ บูรณะถาวรสม นักวิชาการคอมพิวเตอร์ เมษายน 2557

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google