งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ระบบบริหารจัดการที่ เอื้อให้เกิดผลงาน วิชาการรับใช้สังคม มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ระบบบริหารจัดการที่ เอื้อให้เกิดผลงาน วิชาการรับใช้สังคม มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ระบบบริหารจัดการที่ เอื้อให้เกิดผลงาน วิชาการรับใช้สังคม มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์

2 Outline  ความสำคัญของงานวิชาการรับใช้ สังคม  University Community Engagement และงานวิชาการรับ ใช้สังคม  กลไกสนับสนุนการทำงานวิชาการ รับใช้สังคม  ตัวอย่างผลงานวิชาการรับใช้ สังคม  ข้อเสนอแนะ

3 ความสำคัญ - วิสัยทัศน์ระยะ ยาว เป็นองค์การธรรมรัฐ เป็นแหล่งเรียนรู้ เป็นหลักในถิ่น เป็นเลิศสู่สากล

4  หนึ่งในประเด็นยุทธศาสตร์ ปัจจุบัน - พ. ศ.2560 คือ “ การวิจัยและบริการ วิชาการเพื่อเสริมสร้างสังคม เข้มแข็ง แข่งขันได้ และรองรับการ พัฒนาประเทศ ”

5 University Community Engagement Engagement และงานวิชาการรับใช้ สังคม

6 “the process of working collaboratively with and through groups of people affiliated by geographic proximity, special interest, or similar situations to address issues affecting the well- being of those people” Center for Disease Control and Prevention (CDC), 1997 Community engagement http://www.atsdr.cdc.gov/communityengagement/pdf/PCE_Report_508_FINAL.pdf

7 Partnershi p Mutual Benefits Scholarshi p Social Impact Universit y Commun ity Engage ment ศ. ดร. วิจิตร ศรีสอ้าน, 17 กันยายน 2556 หลักการ 4 ประการของ Community Engagement

8 Center for Disease Control and Prevention (CDC), June 2011 http://www.atsdr.cdc.gov/communityengagement/pdf/PCE_Report_508_FINAL.pdf Community engagement continuum

9 Process สู่ Product OutreachConsult Involve Collaborate Shared Leadership ผลงาน วิชาการ รับใช้สังคม University Community Engagement

10 กลไกสนับสนุนการทำงาน วิชาการรับใช้สังคม

11 นโยบาย 3 ล “ แหล่งเรียนรู้ หลักใน ถิ่น เลิศสู่สากล ” สำนักวิชา ศูนย์บริการ วิชาการ สถาบันวิจัย และพัฒนา

12 บูรณาการภารกิจหลักของ มหาวิทยาลัย Research Art & Culture Academic service Teaching & Learning

13 ส่งเสริมให้คณาจารย์ / นักวิจัย รวมตัวกัน  กลุ่มวิจัย (Research Group) ทุน 100,000 บาท / ปี ไม่เกิน 3 ปี  หน่วยวิจัย (Research Unit) ต่อมา ปรับเป็นหน่วยวิจัยและบริการ วิชาการ ทุน 300,000 บาท / ปี ระยะ 3 ปีแรก หลังจากนั้นให้ตามผลการ ประเมิน (100,000-300,000 บาท / ปี )

14 ส่งเสริมให้คณาจารย์ / นักวิจัย รวมตัวกัน  ศูนย์วิจัยความเป็นเลิศ (Research Center of Excellence) ทุน 500,000 บาท / ปี + 30% ของค่า บริหารโครงการที่นำเข้า มหาวิทยาลัย

15 พัฒนานักวิจัยในสายรับใช้ สังคม  ทุนพัฒนางานวิจัยเชิงพื้นที่ ( จังหวัดนครศรีธรรมราช ) ความ ร่วมมือระหว่าง มวล. และ สกว. ทุน ละไม่เกิน 200,000 บาท ระยะเวลา ดำเนินการไม่เกิน 2 ปี เสริมความ เข้มแข็งให้กับกลุ่มวิจัย หน่วยวิจัย ศูนย์วิจัยความเป็นเลิศฯ

16 ตัวอย่างผลงานวิชาการ รับใช้สังคม

17 ศูนย์วิจัยความเป็นเลิศด้านวิทยาศาสตร์ และวิศวกรรมไม้ ศึกษาธรรมชาติเนื้อไม้ พัฒนานวัตกรรมการเลื่อย การอบไม้ ถ่ายทอดเทคโนโลยีให้โรงงานในพื้นที่ภาคใต้ ไม้ยาง ไม้ไผ่ ไม้ปาล์ม ฯลฯ

18 ศูนย์วิจัยความเป็นเลิศด้านกุ้ง คัดเลือกและพัฒนาสายพันธุ์กุ้งปลอดโรค ถ่ายทอดเทคโนโลยีและให้คำปรึกษา : การบริหารจัดการบ่อ สูตรอาหาร การป้องกันโรค EMS ฯลฯ

19 ศูนย์วิจัยความเป็นเลิศด้านนวัตกรรม ฟิสิกส์ยั่งยืนฯ การอบแห้งด้วยคลื่นไมโครเวฟ : ปลา ผัก พริก ข้าว ฯลฯ นวัตกรรมเครื่องให้ความร้อนที่ใช้ในกระบวนการผลิต

20 ศูนย์ความรู้เฉพาะด้าน นิเวศวิทยาพยากรณ์ฯ การใช้ระบบเซนเซอร์กับแนวปะการัง ป่าประ Smart Farm

21 หน่วยวิจัยและบริการวิชาการโรค ไข้เลือดออก การแก้ปัญหาโรคไข้เลือดออกที่เน้นการมีส่วนร่วม ของชุมชนในจังหวัดนครศรีธรรมราช

22 ข้อเสนอแนะ - เพื่อความ ต่อเนื่องและยั่งยืน

23 สร้างระบบการสนับสนุนตลอด เส้นทาง Outre ach Cons ult Invol ve Collabo rate Shared Leader ship โครงสร้าง / ระบบ / กลไก สนับสนุนการดำเนินการ

24 สร้างเสริมศักยภาพบุคลากร  สร้าง engagement culture ใน การทำงานการเรียนการสอน การวิจัย การบริการวิชาการ และการทำนุบำรุงศิลปะและ วัฒนธรรม  สร้างสมรรถนะ เพิ่มความรู้และ ทักษะที่จำเป็นต่อการทำงาน ร่วมกับชุมชนแบบการเป็น หุ้นส่วนระยะยาว (long-term partnership)

25 วัลลา ตันตโยทัย email : tvalla@wu.ac.th; vallatan@yahoo.comtvalla@wu.ac.thvallatan@yahoo.com


ดาวน์โหลด ppt ระบบบริหารจัดการที่ เอื้อให้เกิดผลงาน วิชาการรับใช้สังคม มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google