งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ดาวพุธ (Mercury).

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ดาวพุธ (Mercury)."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ดาวพุธ (Mercury)

2

3

4

5 ดาวพุธเป็นดาวเคราะห์ที่อยู่ใกล้ดวงอาทิตย์มากที่สุดและมีขนาดเล็กที่สุดในดาวเคราะห์ชั้นใน หรือใหญ่เป็นอันดับแปดในระบบสุริยะ โคจรรอบดวงอาทิตย์เร็วที่สุดด้วยเวลา 88 วัน

6 ตามตำนานโรมัน Mercury เป็นเทพแห่งการค้า และ การเดินทาง ซึ่งชาวกรีกเรียกว่า Hermes เป็นเทพแห่งการส่งสารของพระเจ้า เหตุที่ดาวเคราะห์ดวงนี้ได้ชื่อนี้อาจเพราะการเคลื่อนที่อย่างรวดเร็วข้ามท้องฟ้า

7 ชนชาวกรีกเรียก ดาวพุธ ว่า Apolla เมื่อดาวปรากฏตอนใกล้รุ่งเช้า และ เรียกว่า Hemmes ตอนที่ดาวปรากฏในตอนค่ำ ซึ่งนักดาราศาสตร์ชาวกรีกก็ทราบว่าชื่อทั้งสองเป็นชื่อเรียกของดาวดวงเดียวกัน

8 วงโคจรของดาวพุธเป็นวงรี มีระยะใกล้สุดถึงดวงอาทิตย์ประมาณ 46 ล้านกิโลเมตรและไกลสุดประมาณ 70 ล้านกิโลเมตร ในขณะที่ดาวพุธอยู่ในตำแหน่งที่ใกล้ดวงอาทิตย์มากที่สุดจะเดินทางช้ามาก

9 อุณหภูมิบนดาวพุธมีการเปลี่ยนแปลงอย่างมาก ระหว่าง 90 K ถึง 700 K

10 ดาวพุธมีลักษณะหลายอย่างที่คล้ายกับดวงจันทร์ มีพื้นผิวขรุขระที่เต็มไปด้วยหลุมอุกาบาตและมีอายุที่เก่าแก่

11 ดาวพุธมีความหนาแน่นมากเป็นอันดับสองรองจากโลก ประมาณ 5
ดาวพุธมีความหนาแน่นมากเป็นอันดับสองรองจากโลก ประมาณ 5.44 กรัมต่อลูกบาศก์เซ็นติเมตร แต่โดยความเป็นจริงแล้ว ความหนาแน่นของโลกส่วนหนึ่งเป็นผลมาจากแรงดึงดูดของโลก ซึ่งถ้าไม่มีแรงดังกล่าว ดาวพุธจะมีความหนาแน่นมากกว่าโลก จากหลักฐานดังกล่าวทำให้เชื่อว่า แกนกลางของดาวพุธประกอบด้วยเหล็กที่มีขนาดใหญ่กว่าแกนกลางของโลก ซึ่งอาจจะเป็นส่วนประกอบหลักของดาวพุธ ดังนั้นดาวพุธจึงมีเนื้อและเปลือกเป็นชั้นบางๆของพวกซิลิเกต

12

13 แกนกลางของดาวพุธมีรัศมีประมาณ 1800 ถึง 1900 กิโลเมตร และชั้นเปลือกชั้นนอกมีความหนาประมาณ 500 ถึง 600 กิโลเมตร และบางส่วนของแกนกลางยังหลอมอยู่

14 ดาวพุธมีชั้นบรรยากาศบางๆ ซึ่งได้จากการระเบิดของพื้นผิวโดยลมสุริยะ แต่เนื่องจากดาวพุธมีอุณหภูมิที่สูง บรรยากาศจึงหนีออกสู่อวกาศได้ง่าย ซึ่งแตกต่างไปจากบรรยากาศของโลกและดาวศุกร์ที่คงที่ไม่หนีออกสู่บรรยากาศ ดังนั้นบรรยากาศของดาวพุธจึงเกิดขึ้นใหม่ตลอดเวลา

15 จากการสังเกตโดยใช้คลื่นวิทยุในบริเวณขั้วเหนือ แสดงหลักฐานที่อาจมีน้ำแข็ง ซึ่งเนื่องจากว่าแกนหมุนรองตัวเองของดาวพุธเกือบตั้งฉากกับระนาบของวงโคจร ทำให้บริเวณที่เป็นขั้วเหนือเห็นดวงอาทิตย์เฉพาะบริเวณขอบฟ้าเท่านั้น ในหลุมอุกาบาตอาจไม่โดนแสงอาทิตย์ส่องถึงเลยและอาจมีอุณหภูมิต่ำถึง –161 OC ซึ่งต่ำพอที่จะเก็บรักษาไม่ให้น้ำแข็งระเหยเป็นไอออกสู่บรรยากาศ หรือน้ำแข็งนี้อาจได้จากการชนของดาวหาง

16 ดาวพุธมีสนามแม่เหล็กอย่างอ่อน มีความเข้มประมาณ 1 %ของสนามแม่เหล็กโลก แกนของสนามแม่เหล็กวางตัวทำมุมประมาณ 7 องศากับแกนหมุนของดาวพุธ การที่ดาวพุธมีค่าความเข้มสนามแม่เหล็กที่ต่ำ เนื่องจากดาวพุธมีขนาดเล็กและมีแกนกลางซึ่งส่วนใหญ่เป็นของแข็ง

17 การที่ยังพบสนามแม่เหล็กบนดาวพุธ อาจเป็นการแสดงให้เห็นว่าแกนกลางของดาวพุธเป็นเหล็กและอาจหลอมเหลวเพียงเล็กน้อย หรืออาจเนื่องจากสภาพแม่เหล็กคงค้าง (remnant magnetization) ที่ยังเหลืออยู่ในหินซึ่งเกิดในขณะที่ดาวพุธยังมีสนามแม่เหล็กความเข้มสูงตอนที่ดาวพุธยังมีอายุน้อย

18 ดาวพุธไม่มีดาวบริวาร

19

20 บนท้องฟ้าที่มองจากพื้นโลก ดาวพุธสามารถเห็นได้ด้วยตาเปล่า แต่เนื่องจากดาวพุธมักอยู่ใกล้กับดวงอาทิตย์จึงอาจสังเกตเห็นได้ยากโดยเฉพาะในขณะพลบค่ำหรือตอนใกล้รุ่งซึ่งเป็นช่วงที่ดาวพุธอยู่บริเวณขอบฟ้า


ดาวน์โหลด ppt ดาวพุธ (Mercury).

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google