งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

จัดทำโดย เด็กหญิง วรรณิสาห์ มาโสด เสนอ อ. ดลหทัย อินทรจันทร์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "จัดทำโดย เด็กหญิง วรรณิสาห์ มาโสด เสนอ อ. ดลหทัย อินทรจันทร์"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 จัดทำโดย เด็กหญิง วรรณิสาห์ มาโสด เสนอ อ. ดลหทัย อินทรจันทร์
การระเบิดของภูเขาไฟ จัดทำโดย เด็กหญิง วรรณิสาห์ มาโสด เสนอ อ. ดลหทัย อินทรจันทร์ ประวัติส่วนตัว

2 คำนิยาม ภูเขาไฟระเบิด เป็นภัยพิบัติทางธรรมชาติที่ร้ายแรงอย่างหนึ่ง การระเบิด ของภูเขาไฟนั้นแสดงให้เห็นว่าใต้ผิวโลกของเราระดับหนึ่ง มีความร้อน สะสมอยู่มากโดยเฉพาะที่เรียกว่า’’จุดร้อน”ณ บริเวรนี้มีหินหลอมละลาย เรียกว่า ลาวา

3 สาเหตุการระเบิดของภูเขาไฟ
กระบวนการระเบิดของภูเขาไฟนั้นยังไม่เป็นที่เข้าใจกระจ่างชัดนัก นักธรณี วิทยาคาดมีการสะสมของความร้อนอย่างมากในบริเวณนั้นทำให้มีแมกมา ไอน้ำ และแก๊ส สะสมตัวอยู่มากขึ้นเรื่อยๆซึ่งก่อให้เกิดความดัน ความร้อนสูง เมื่อถึงจุดจุดหนึ่งมันจะระเบิดออกมา อัตราความรุนแรงของ การระเบิด ขึ้นอยู่กับความรุนแรงของการระเบิด รวมทั้งขึ้นอยู่กับความ ดันของไอน้ำ และความหนืดของลาวา ถ้าลาวาข้นมากๆ อัตราการรุนแรง ของการระเบิดจะรุนแรงมากตามไปด้วย เวลาภูเขาไฟระเบิด มิใช่มี แต่ลาวาที่ไหลออกมาเท่านั้น ยังมีแก๊ส ไอน้ำ ฝุ่นผงเถ้าถ่านต่างๆออกมาด้วย

4 มองเป็นกลุ่มควนม้วนลงมา พวกไอน้ำจะควบแน่นกลายเป็นน้ำ นำเอา
ฝุ่นละอองเถ้าต่างๆที่ตกลงมาด้วยกัน ไหลบ่ากลายเป็นโคลนท่วมบริเวณ เชิงเขาต่ำลงไป ยิ่งถ้าภูเขาไฟนั้นมีหิมะคลุ่มอยู่ มันจะละลายหิมะ นำ โคลนมาเป็นจำนวนมากได้ เช่นในกรณีของภัยพิบัติที่เกิดในประเทศ โคลัมเบียเมื่อไม่นานมานี้

5 สิ่งที่ได้จากการปะทุของภูเขาไฟ
หลายคนคาดว่าลาวาเป็นวัตถุชิ้นแรกที่ถูกปล่อยออกมาจากภูเขาไฟซึ่ง นั้นไม่เป็นความจริงเสมอไปทั้งนี้ในระยะแรกอาจพ่นเอาเศษหินขนาดใหญ่ ออกมา จำนวนมากเรียกว่า’’ลาวาบอม(lava bomb)ส่วนเถ้าถ่านและ ฝุ่นละอองเกิดขึ้นต่อมาอย่างปกตินอกจากนั้นการเกิดระเบิดของภูเขาไฟ ยังปล่อยเอาก๊าซออกมาอีกด้วย

6 ลาวา เนื่องด้วยลาวาที่มีปริมาณซิลิกาต่ำหรือลาวาที่มีองค์ประกอบเป็นบะซอลต์ ปกติจะมีความเหลวมากและไหลเป็นชั้นบางๆแผ่เป็นแผ่นบางๆ กว้างเหมือนลิ้นตัวอย่างเหมือนเกาะฮาวายลาวาจะไหลออกมาด้วยความเร็ว 30km./hบนพื้นที่ที่ชันมากอย่างไรก็ตามความเร็วแบบนี้เกิดขึ้นได้น้อย มากโดยปกติพบว่ามีความเร็ว10-300m./hในทางกลับกันกาเคลื่อนที่ของ ลาวาที่มีซิลิกาสูงจะช้ากว่า เมื่อลาวาบะซอลต์ของการปะทุแบบฮาวายเอียน แข็งตัวมันจะมีผิวเรียบบางทีเป็นคลื่น(wrinkle)ในขณะที่ล่ว่ชั้นในใต้พื้น ซึ่งยังหลอมอยู่จะเคลื่อนที่ต่อไป ลักษณะนี้เรียกว่า’’การไหลแบบ ปาฮอยฮอย’’

7 ซึ่งมีลักษณะคล้ายกับริ้วเชือกบิดลาวาบะซอลต์ทั่วๆไปจากแหล่งอ่านมีผิวขรุขระ เป็น
แท่งขอบไม่เรียบแหลมคมหรือมีหนามยื่นออกมา’’อาอา’’ซึ่งเกิดจากลาวาประเภทนี้ เช่นกันอาอาที่กำลังไหลออกมาจะเย็นและหนา ขึ้นอยู่กับความชันของ ภูมิประเทศ ที่มันไหลมามีความเร็วของการไหลประมาณ 5-50m./h นอกจากนั้นก๊าซที่ออกมา จะทำให้ผิวของลาวาที่เย็นแตกออกและให้รูหรือช่องว่างขนาดเล็ก ที่มีปากรูเป็นหนาม แหลมคมเมือลาวาแข็งตัวแล้ว

8 ก๊าซ ก๊าซที่ละลายอยู่ในหินหนืดในปริมารต่างกัน และอยู่ได้เพราะความดันของมวลหิน โดยรอบเปรียบเหมือนคาบอนไดออกไซด์ที่อยู่ในเครื่องดื่มซึ่งเมื่อความดันลดลงก๊าซ ก็เริ่มหนีออกมาเป็นฟองการศึกษาสภาพจริงจากการระเบิดของภูขาไฟเป็นสิ่งที่ยุ้ง อยาก และอันตรายมากดังนั้นนักธรณีวิทยาจึงประมาณการ ปริมาณก๊าซที่ขึ้นมาจาก ก๊าซเริ่มต้นที่ละลายอยู่ในหินหนืดไม่ได้เชื่อกันว่าหินหนืดส่วนใหญ่มีก๊าซละลายอยู่ ประมาณ 5% ของน้ำหนักทั้งหมด และก๊าซที่ออกมามีมากกว่า 1000% วัน

9 สารทีมีปริมาณน้อนที่สุด ได้แก่ คลอรีน ไฮโรเจน และ อาร์กอน
สารประกอบ ซัลฟอรัส จะทดสอบได้ง่ายโดยกลิ่นฉุนของมันซึ่งอาจ กลายเป็นกรตซัลฟิวริก และมีอันตรายเมื่อได้สูดดม เข้าไปในปอด

10 ประวัติส่วนตัว ชื่อ เด็กหญิง วรรณิสาห์ มาโสด อายุ 13 ปี
ชื่อ เด็กหญิง วรรณิสาห์ มาโสด อายุ 13 ปี เกิดวันที่ 28/ 2 / 2541 เบอร์โทรศัพท์ ชื่อเล่น ยิมส์ น้ำหนัก 45 กิโลกรัม ส่วนสูง 164 เซนติเมตร


ดาวน์โหลด ppt จัดทำโดย เด็กหญิง วรรณิสาห์ มาโสด เสนอ อ. ดลหทัย อินทรจันทร์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google