ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
สถานที่ปรุง ประกอบ จำหน่ายอาหาร
สุขาภิบาลอาหาร สถานที่ปรุง ประกอบ จำหน่ายอาหาร
2
สถานที่ปรุง ประกอบ จำหน่ายอาหาร
สุขาภิบาลอาหาร สถานที่ปรุง ประกอบ จำหน่ายอาหาร
3
สถานที่สำหรับใช้ในกิจการอาหาร
สถานที่เตรียมประกอบและปรุงอาหาร สถานที่รับประทานอาหาร ห้องน้ำ ห้องส้วม
4
สถานที่เตรียมประกอบและปรุงอาหาร
พื้นและพื้นที่ : แข็งแรง ทำความสะอาดได้ง่าย เรียบ ไม่ดูดซึมน้ำ ไม่ลื่น ไม่มีรอยแตกหรือชำรุด ผนังและเพดาน : ควรทำด้วยวัสดุเรียบ ทำความสะอาดง่าย ประตู หน้าต่าง : ควรมีพื้นที่ประมาณร้อยละ 20 ของพื้นที่ห้อง และควรกรุด้วยลวดตาข่ายเพื่อป้องกันแมลงวัน
5
สถานที่เตรียมประกอบและปรุงอาหาร
บริเวณที่เตรียม-ปรุงอาหาร อ่างล้างอาหาร ต้องวางสูงจากพื้น อย่างน้อย 60 ซม. โต๊ะเตรียมอาหาร ทำด้วยวัสดุที่ทำความสะอาดง่าย อยู่สูงจากพื้นอย่างน้อย 60 ซม. บริเวณเตาไฟ ควรอยู่บริเวณที่การถ่ายเทอากาศ และความร้อนได้ดี ถังขยะ ขนาดพอเหมาะ มีฝาปิด
6
สถานที่เตรียมประกอบและปรุงอาหาร
การระบายอากาศ : ในการก่อสร้างควรคำนึงถึงทิศทางลม แสงสว่าง : ควรความเข้มของแสงสว่างไม่น้อยกว่า 10 ฟุต-เทียน อ่างล้างมือและอ่างล้างจาน ควรมีท่อที่สามารถระบายน้ำได้สะดวก และอ่างล้างภาชนะควรมีอย่างน้อย 2 อ่าง
7
สถานที่เตรียมประกอบและปรุงอาหาร
ท่อหรือรางระบายน้ำ ต้องมีสภาพดี ไม่แตกร้าว ไม่มีเศษอาหารอุดตัน ฝาท่อระบายน้ำควรทำเป็นตะแกรง บ่อดักไขมัน และดักเศษอาหาร ตู้เย็นและตู้เก็บอาหาร ควรแยกประเภทอาหารไม่ให้ปะปนกัน
8
สถานที่รับประทานอาหาร
พื้น ผนังและเพดาน : สะอาด ทำด้วยวัสดุถาวร แข็ง เรียบ สภาพดี การระบายอากาศที่ดี โต๊ะ เก้าอี้ : สะอาด แข็งแรง จัดเป็นระเบียบ ประตูและหน้าต่าง : ควรกรุด้วยตาข่ายเพื่อป้องกันแมลงนำโรค แสงสว่าง
9
ห้องน้ำและห้องส้วม สะอาด : ห้องส้วม สุขภัณฑ์ สิ่งอำนวยความสะดวก การเก็บกักสิ่งปฏิกูล เพียงพอ : ผู้พิการ ผู้สูงวัย หญิงมีครรภ์ พร้อมใช้งานตลอดเวลาที่เปิดบริการ ปลอดภัย : ไม่เปลี่ยว แยกชาย-หญิง แสงสว่างเพียงพอ
10
การควบคุม กำจัด สัตว์ แมลงพาหะนำโรค
การควบคุม กำจัด สัตว์ แมลงพาหะนำโรค
11
ชนิดหนูบ้าน หนูท่อ หนูท้องขาว หนูจี๊ต หนูหริ่ง
12
วงจรชีวิตแมลงหนู
13
การควบคุมและกำจัดหนู
การป้องกันไม่ให้มีแหล่งเพาะพันธุ์ แหล่งอาหาร และแหล่งที่อยู่อาศัย ปิดกั้นหรือสกัดกั้นทางเข้า-ออก ป้องกันไม่ให้หนูเข้าสู่ที่พักอาศัย รวบรวมและกำจัดขยะมูลฝอย เพื่อทำลายแหล่งอาหาร จัดบ้านเรือนและบริเวณบ้านให้สะอาด
14
การควบคุมและกำจัดหนู
การกำจัดหนู การใช้กับดัก โดยใช้เหยื่อล่อ การใช้สารเคมี การรมควัน มักใช้ในเรือ หรือโกดังสินค้า การวางยาเบื่อ
15
ชนิดแมลงวันบ้าน แมลงวันบ้าน แมลงวันหัวเขียว แมลงวันลายเสือ
16
วงจรชีวิตแมลงวัน ตัวเต็มวัย
17
การควบคุมและกำจัดแมลงวัน
การปรับปรุงสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม การป้องกัน กำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ หรือแหล่งอาหาร เก็บเศษอาหาร และขยะต่างๆ ในถังขยะที่มีฝาปิดมิดชิด จัดให้มีการใช้ส้วมที่ถูกสุขลักษณะ กำจัดมูลสัตว์ โดยการฝัง หมักทำปุ๋ย เป็นต้น หมั่นดูแล รางระบายน้ำ มิให้อุดตันหรือมีเศษอาหารตกค้าง
18
การควบคุมและกำจัดแมลงวัน
การปรับปรุงสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม ปิดกั้นหรือสกัดกั้นทางเข้า-ออก ป้องกันไม่ให้แมลงวันเข้ามาในสถานที่ประกอบอาหาร ควรมีตู้เก็บอาหารหรือภาชนะปกปิด ป้องกันแมลงวันตอม
19
การควบคุมและกำจัดแมลงวัน
การกำจัดตัวอ่อน โดยใช้สารเคมี ฉีดพ่นบริเวณแหล่งเพาะพันธ์ เช่น มูลสัตว์ กองขยะ เป็นต้น การกำจัดตัวเต็มวัย วิธีกล โดยการใช้กับดักชนิดเหยื่อล่อโดยอาศัยอาหารหรือสิ่งเน่าเปื่อยซึ่งมีกลิ่นที่แมลงวันชอบ กับดักแสงไฟ กาวดักแมลงวัน ไม้ตี เป็นต้น การใช้สารเคมี ควรเลือกที่ปลอดภัยต่อการใช้ และมีอันตรายน้อยต่อมนุษย์
20
ชนิดแมลงสาบบ้าน
21
วงจรชีวิตแมลงสาบ’ 1 ปี ( วงจรชีวิตแมลงสาบอเมริกันประมาณ 1 - 3 ปี )
ลอกคราบ ครั้ง เดือน 1 ปี 7 วัน วัน วัน ผสมพันธุ์ 21 – 59 CAPSULE ( ฟอง )
22
การควบคุมแมลงสาบ การปรับปรุงสุขาภิบาลที่พักอาศัย
การป้องกัน กำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ ควรมีภาชนะปกปิดอาหาร ทำความสะอาดครัวไม่ให้มีเศษอาหารตกค้าง ทำความสะอาดห้องน้ำ ห้องส้วม หมั่นซักเสื้อผ้าให้สะอาด และถังขยะควรมีฝาปิดมิดชิด เพื่อไม่ให้เป็นอาหารของแมลงสาบ
23
การควบคุมแมลงสาบ การปรับปรุงสุขาภิบาลที่พักอาศัย
ปิดกั้นหรือสกัดกั้นทางเข้า-ออก ควรติดตะแกรงถี่ๆ ที่ท่อระบายน้ำ และหมั่นตรวจลัง หีบห่อต่างๆ ไม่ให้มีแมลงสาบ หรือไข่แมลงสาบ
24
การควบคุมและกำจัดแมลงสาบ
การกำจัดแมลงสาบ การใช้กับดัก โดยอาศัยอาหารที่แมลงสาบชอบเป็นเหยื่อล่อ การใช้สารเคมี ฉีดพ่นตามผนัง ซอกตู้ รอยแตก ท่อน้ำทิ้ง ที่มืดอับชื้น เป็นต้น
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.