ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
พัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
นพ. ภานุวัฒน์ ปานเกตุ สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค
2
เป้าหมาย ปี 2568 ลดตายก่อนวัยอันควรจากโรค NCDs 25% -ตำบลจัดการสุขภาพ
กรอบแนวคิดการพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน ลดการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ 10 % ลดการบริโภคยาสูบ 30 % ลดภาวะความดันโลหิตสูง 25 % ผู้ที่เสี่ยงสูงต่อ CVD ได้รับยาและคำปรึกษา 50% ลดตายก่อนวัยอันควรจากโรค NCDs 25% ลดการขาดกิจกรรม ทางกาย 10 % ลดการบริโภคเกลือ/โซเดียม 30% ภาวะเบาหวานและอ้วนไม่ให้เพิ่ม ยาและเทคโนโลยีที่จำเป็นครอบคลุม 80% สร้างเสริมสุขภาพ และวิถีชีวิตในประชากร ป้องกันการเกิดโรค ในกลุ่มเสี่ยงสูง ป้องกันและชะลอการดำเนินโรค สู่ภาวะแทรกซ้อนและการเป็นซ้ำ ลดพฤติกรรม/ปัจจัยเสี่ยงในประชากร -ตำบลจัดการสุขภาพ -การบังคับใช้กฎหมาย พัฒนาคลินิกบริการและการจัดการโรค -คลินิก NCD คุณภาพ DHS + system manager ระดับจังหวัด/อำเภอ
3
DHS Approach Population Individual ปกติ 3 อ. 2 ส. เสี่ยง ป่วย
WHO 9 เป้าหมาย สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย โครงการสนองน้ำพระราชหฤทัย ปิงปอง 7 สี Approach Population Individual Community (ตำบล/ สถานที่ทำงาน) Hospital (คลินิก NCD คุณภาพ) ปกติ 3 อ. 2 ส. เสี่ยง DPAC ป่วย NCD clinic ป่วย + complication คัดกรอง ตา ไต เท้า CVD risk ass. Information/ ทะเบียน Registry Pop-Screening (DM,HT) DHS NCD Board/กรรมการ Service plan HR: System manager/ Case manager Value Chain บูรณาการทุกกรม
4
ผู้มารับบริการในคลินิก การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
เป้าหมาย ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม จัดการตนเอง ควบคุมสภาวะของโรคได้ การปรับระบบบริการ ในคลินิก NCD คุณภาพ ผู้มารับบริการในคลินิก การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม DPAC Psychosocial clinic เลิกบุหรี่ สุรา โภชนบำบัด(อาหารเฉพาะโรค การรักษาด้วยยา มาตรฐานวิชาชีพ Service Plan ประเมินปัจจัยเสี่ยง อ้วน CVD risk สุขภาพจิต บุหรี่ สุรา รพศ./รพท. รพช./รพ.สต บูรณาการ/ one stop service
5
แนวทางการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด
7
ขั้นตอนที่ 5 เลือกช่วงอายุ
8
ขั้นตอนที่ 6 เลือกค่า systolic blood pressure
9
ขั้นตอนที่ 7 ค่า cholesterol กรณีทราบค่า cholesterol
10
การแปลผล
11
ขั้นตอนการบริการหลังประเมินในกลุ่มป่วยโรคเบาหวานและ
โรคความดันโลหิตสูง (DM, HT)
12
เป้าหมายผลลัพธ์การบริการและจัดการตนเองเพื่อลดโอกาสเสี่ยง
1 2 3 4 5 6 7
13
การประเมินปัจจัยเสี่ยง CVD ด้วยวาจา 9 ข้อ
1. การกินผัก ผลไม้ ไม่เพียงพอ 2. การมีวิถีชีวิตนั่งๆนอนๆ 3. สูบหรี่ 4. ดัชนีมวลกาย และ รอบเอว 5. มีอัตราส่วนของ Chol. ต่อ HDL > 5 หรือ ประวัติไขมันผิดปกติ 6. มีประวัติ IHD และ/หรือ Stroke 7. มีประวัติ HT 8. มีประวัติ DM 9. ประวัติครอบครัวเคยป่วยด้วย CVD
14
ตารางสีที่ 1 กรณีทราบผล โคเลสเตอรอล (cholesterol) ในเลือด
15
ระบบเฝ้าระวัง ควบคุม ป้องกัน DM&HT ด้วยปิงปองจราจรชีวิต 7 สี
ตำบลจัดการสุขภาพ คลินิก NCD คุณภาพ Multidrug Rx ควบคุมสภาวะโรคได้ดี CVD risk > 30% ปกติ + 1 2 3 กลุ่มเสี่ยง มีภาวะแทรกซ้อน กลุ่มป่วย
16
ตำบลจัดการสุขภาพ 1 2 3 4 5 6 7 ตำบลจัดการสุขภาพ อสม.
ระดับ เครือข่าย พัฒนาทีม แผนสุขภาพตำบล กิจกรรม ผลลัพธ์การพัฒนา นวัตกรรม/ศูนย์เรียนรู้ พื้นฐาน พัฒนา ดี ดีมาก ดีเยี่ยม 1 อสม. แผนสุขภาพตำบล กิจกรรมสุขภาพ การมีส่วนร่วมของ อปท. 2 3 แผนงาน/ กิจกรรม เป้าหมายลดNCD ,อุบัติเหตุ 4 5 6 7 เฝ้าระวัง/ คัดกรอง สื่อสารด้านสุขภาพในชุมชนเพื่อปรับพฤติกรรม -3อ 2ส -3ม 2ข 1ร ปรับเปลี่ยนสภาพแวดล้อม -เอื้อสุขภาพดี -ลดจุดเสี่ยงอันตราย กำหนดมาตรการสังคม/ข้อตกลงร่วม
17
ตัวอย่าง -การบูรณาการดำเนินงานในตำบลจัดการสุขภาพ
กิจกรรม ตัวอย่าง -การบูรณาการดำเนินงานในตำบลจัดการสุขภาพ เฝ้าระวัง / คัดกรอง 1. มีการเฝ้าระวังด้วยตนเอง : รอบเอว น้ำหนัก อ้วน ความดันโลหิต การออกกำลังกาย การบริโภคอาหาร 2. ระบบเฝ้าระวังในชุมชน 3. การคัดกรองเชิงรุก การมีส่วนร่วมของชุมชนในการคัดกรองกลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วย ด่านชุมชน สนับสนุนแกนนำชุมชน อสม.ดูแลติดตามอย่างต่อเนื่อง สื่อสารเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรม มีข้อมูลพฤติกรรมสุขภาพประชาชนในตำบล สื่อประชาสัมพันธ์ สื่อสารความรู้สุขภาพ รณรงค์และสื่อสารเตือนภัย (Risk communication) แนะนำการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3อ 2ส , 3ม 2ข 1ร โดย จนท. สธ./อสม./นักจัดการสุขภาพ สนับสนุนระบบพี่เลี้ยง/เพื่อนช่วยเพื่อนเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ถ่ายทอดและแลกเปลี่ยนความรู้ เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ผลักดันให้มีบุคคลต้นแบบ ชุมชนต้นแบบ ติดตามความรับรู้ ความตระหนัก / ความตั้งใจที่จะปรับเปลี่ยน พฤติกรรม 9. มีการติดตามพฤติกรรมสุขภาพ 4 5
18
ตัวอย่าง-การบูรณาการดำเนินงานในตำบลจัดการสุขภาพ
กิจกรรม ตัวอย่าง-การบูรณาการดำเนินงานในตำบลจัดการสุขภาพ ปรับเปลี่ยนสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ /ลดจุดเสี่ยงอันตราย 1. มีสถานที่ออกกำลังกาย/ชมรมออกกำลังกาย /ชมรมผู้สูงอายุ 2. มีศูนย์แลกเปลี่ยนเรียนรู้ของชุมชน 3. มีอุปกรณ์ในการติดตามพฤติกรรมสุขภาพตนเอง เช่นเครื่องวัด ความดันโลหิต เครื่องชั่งน้ำหนัก ที่ประชาชนเข้าถึงได้ง่าย 4. มีแปลงสาธิตในการปลูกผักปลอดสารพิษ / ส่งเสริมให้มีตลาดผัก ปลอดสารพิษ 5. ส่งเสริมศาสนกิจในชุมชน 6. สถานที่สาธารณะปลอดบุหรี่ ปลอดสุรา 7. แก้ไขจุดเสี่ยง จุดอันตราย จุดที่อุบัติเหตุบ่อย กำหนดมาตรการทางสังคม หรือข้อตกลงร่วม 1. กำหนดข้อตกลงร่วมกันของชุมชน ตำบล ในการลดพฤติกรรมเสี่ยง ลดการบริโภคน้ำปลา เกลือ เครื่องปรุงรสในครัวเรือน ใช้พืช/สมุนไพรแทนเครื่องปรุงรสในครัวเรือน งดเหล้า/ ลดอาหารหวาน มัน เค็ม /งดชากาแฟ ในงานศพและงานบุญ สวมหมวกนิรภัย เมาไม่ขับ ขับไม่เร็ว 2. ให้รางวัลบุคคลที่มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ดีขึ้นอย่างชัดเจน 6 7
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.