งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

จักรยาน.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "จักรยาน."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 จักรยาน

2 วีรบุรุษ

3 มัจจุราช

4 คำสมาส จัดทำโดย ครูวรพงษ์ ปัญญาชื่น

5 ความหมายของคำสมาส คำสมาส คือ คำที่เกิดจากการนำคำในภาษาบาลีและสันสกฤตมารวมเข้าด้วยกัน เพื่อทำให้เกิดคำใหม่ ที่มีความหมายใหม่ โดยยังมีเค้าของความหมายเดิมอยู่

6 หลักการสังเกต ๑. เกิดจากคำมูลตั้งแต่สองคำขึ้นไป
๒. เป็นคำที่มีรากศัพท์มาจากภาษาบาลีและ สันสกฤตเท่านั้น เช่น กาฬพักตร์ ภูมิศาสตร์ ราชธรรม บุตรทาน อรรถคดี ฯลฯ ๓. พยางค์สุดท้ายของคำหน้า หากมีสระ อะ หรือมี ตัวการันต์อยู่ ให้ยุบตัวนั้นออก (ยกเว้นคำบางคำ เช่น กิจจะลักษณะ เป็นต้น)

7 หลักการสังเกต(ต่อ) ๔. แปลความจากหลังมาหน้า เช่น ราชบุตร แปลว่า บุตรของ
พระราชา ๕. ส่วนมากออกเสียงพยางค์ท้ายของคำหน้า แม้จะไม่มีรูปสระกำกับ อยู่ โดยจะใช้เสียง อะ อิ และ อุ (เช่น เทพบุตร) แต่บางคำก็ไม่ออก เสียง (เช่น สมัยนิยม สมุทรปราการ) ๖. คำบาลีสันสกฤตที่มีคำว่า พระ ซึ่งกลายเสียงมาจากบาลีสันสกฤต ก็ถือว่าเป็นคำสมาส (เช่น พระกร พระจันทร์)

8 ๗. ส่วนใหญ่จะลงท้ายว่า ศาสตร์ กรรม ภาพ ภัย ศึกษา ศิลป์
วิทยา ๘. อ่านออกเสียงระหว่างคำ เช่น ประวัติศาสตร์ อ่านว่า ประ – หวัด – ติ – ศาสตร์ ไทยธรรม อ่านว่า ไทย – ยะ – ทำ อรรถรส อ่านว่า อัด – ถะ – รด

9 คลิกเลือกข้อที่ต้องการได้เลยครับ
แบบทดสอบ ๑. ข้อใดเป็นคำสมาส ก. วรรณกรรม ข. คณาจารย์ ค. สิงหาคม ง.เทพารักษ์ คลิกเลือกข้อที่ต้องการได้เลยครับ

10 ถูกต้องนะครับ กดปุ่มนี้นะครับ

11 ผิดนะครับ กดปุ่มนี้นะครับ

12 ๒. ข้อใดเป็นคำสมาสทั้ง ๒ คำ
ก.กระจุ๋มกระจิ๋ม นโยบาย ข.กายกรรม พลศึกษา ค.อดีตกาล สังหรณ์ ง.สุโขทัย มิถุนายน คลิกเลือกข้อที่ต้องการได้เลยครับ

13 ถูกต้องนะครับ กดปุ่มนี้ครับ

14 กดปุ่มนี้นะครับ

15 ๓.ข้อใดเป็นคำสมาสทั้งหมด
ก.มโนภาพ รโหฐาน ข.สมาคม สงสาร ค.สมาทาน สุริโยทัย ง.ธุรกิจ กรรมกร คลิกเลือกข้อที่ต้องการได้เลยครับ

16

17 กดปุ่มนี้นะครับ

18 อยู่ โดยจะใช้เสียง อะ อิ และ อุ
๓.แปลความจากหลังมาหน้าส่วนมากออกเสียงพยางค์ท้ายของคำหน้า แม้จะไม่มีรูปสระกำกับ อยู่ โดยจะใช้เสียง อะ อิ และ อุ ๑.เป็นคำมูลสองคำขึ้นไปที่มีรากศัพท์คำบาลีสันสกฤต สรุปหลักการสังเกตคำสมาส ๔. ส่วนใหญ่จะลงท้ายว่า ศาสตร์ กรรม ภาพ ภัย ศึกษา ศิลป์ วิทยา ๒.พยางค์สุดท้ายของคำหน้า หากมีสระ อะ หรือมี ตัวการันต์อยู่ ให้ยุบตัวนั้นออก ๕. อ่านออกเสียงระหว่างคำ เช่น ประวัติศาสตร์ อ่านว่า ประ – หวัด – ติ – ศาสตร์


ดาวน์โหลด ppt จักรยาน.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google