งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

XML ( Extensible Markup Language ). ภาษาที่ได้รับการออกแบบมาเพื่อให้สามารถ นิยามความหมายของข้อมูลได้ หรือที่เรียกว่า Data definition โดยอนุญาตให้ผู้ใช้นิยามแท็ก.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "XML ( Extensible Markup Language ). ภาษาที่ได้รับการออกแบบมาเพื่อให้สามารถ นิยามความหมายของข้อมูลได้ หรือที่เรียกว่า Data definition โดยอนุญาตให้ผู้ใช้นิยามแท็ก."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 XML ( Extensible Markup Language )

2 ภาษาที่ได้รับการออกแบบมาเพื่อให้สามารถ นิยามความหมายของข้อมูลได้ หรือที่เรียกว่า Data definition โดยอนุญาตให้ผู้ใช้นิยามแท็ก ขึ้นมาได้เอง เช่น Data, Data XML (Extensible Markup Language) คืออะไร ?

3 1. ภาษา HTML จะประกอบไป ด้วยแท็กสำหรับการใช้งานที่ถูก กำหนดไว้เรียบร้อยแล้ว ผู้ใช้เพียงแต่ นำแท็กมาใช้ แต่ในภาษา XML ไม่มีแท็กที่ ถูกนิยามไว้ก่อน ผู้ใช้ต้องสร้าง แท็กขึ้นมาเองเพื่อนำมาอธิบาย ข้อมูล HTML vs XML

4 2. ภาษา HTML เป็นภาษาที่ถูกออกแบบ มาเพื่อแสดงผลข้อมูล ในขณะที่ XML เป็นภาษาที่ใช้ในการ ขนส่งและจัดเก็บข้อมูล

5 1. ใช้สำหรับสร้างข้อมูลที่สามารถ อธิบายความหมายของตัวเองได้ (self-describe data) จากความสามารถในการสร้างแท็กขึ้นมา เองได้ ทำให้การนิยามชื่อแท็กจะคำนึงถึงชื่อที่ สื่อความหมายถึงข้อมูล ซึ่งทำให้ผู้ใช้งาน สามารถอ่านและเข้าใจข้อมูลได้ง่าย ในขณะเดียวกันก็สามารถเขียนโปรแกรม ให้เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถดึงข้อมูลไปใช้ได้ โดยง่าย ดังนั้นจึงอาจกล่าวได้ว่า เอกสาร XML มีคุณลักษณะครบทั้งแบบ Human readable และแบบ Machine readable ประโยชน์ของ XML

6 0510001 SookChai Thasook ตัวอย่าง

7 2. ใช้สำหรับการแลกเปลี่ยนข้อมูล (data exchange) เนื่องจาก XML เป็นเอกสารที่มีลักษณะเป็น text file จึงทำให้ XML เป็นภาษากลาง จึงใช้ได้กับทุกแพลตฟอร์ม (platform) ไม่ว่าจะเป็น Windows หรือ Unix หรืออื่นๆ จึงสามารถ แลกเปลี่ยนข้อมูลที่อยู่ในรูปเอกสาร XML ข้ามแพลตฟอร์มได้ ประโยชน์ของ XML

8 XML PHPC++ ฐานข้อมูล B ฐานข้อมูล A การแลกเปลี่ยนข้อมูลโดยใช้ XML

9 XML PHPC++ ฐานข้อมูล B ฐานข้อมูล A การแลกเปลี่ยนข้อมูลโดยใช้ XML

10 การรองรับข้อมูลในรูปแบบ XML ของ โปรแกรม Excel

11 การรองรับข้อมูลในรูปแบบ XML ของ โปรแกรม MS-Access

12 3. เป็นรากฐานของภาษาใหม่ๆ ในการ พัฒนาเว็บเพจ ภาษาใหม่ๆในที่นี้เช่น MathML, ChemML, VML, FBML, SVG และอื่นๆ ประโยชน์ของ XML

13 ตัวอย่าง MathML

14 โครงสร้างของภาษา XML

15 โครงสร้างของเอกสาร XML

16 คือ ส่วนที่ประกาศให้ทราบว่าเป็น เอกสาร XML Prolog

17 คือ ส่วนที่เนื้อเอกสารจริงๆ ซึ่งได้แก่ ข้อความหรือข้อมูลในเอกสารและแท็กที่ นิยามข้อความหรือข้อมูลเหล่านั้น ในส่วน Body นี้ยังมีส่วนประกอบย่อยดังต่อไปนี้ Body

18 ส่วนที่เป็นข้อความจำพวกคอมเมนต์ (comment) การใช้งาน XML IDC Epilog

19 1. เอกสาร XML จะมี root element ได้เพียง หนึ่งเดียวเท่านั้น ซึ่งทำหน้าที่คุมอิลิเมนต์อื่นๆ ทั้งหมด การใช้งาน XML IDC ในที่นี้ ……. ทำ หน้าที่เป็น root element กฏเกณฑ์ของอิลิเมนต์ (element)

20 2. แท็กเปิดและปิดต้องเหมือนกัน ต่างกันแต่เพียงในแท็กปิดต้องมี เครื่องหมาย / นำหน้าชื่อแท็กเท่านั้น กฏเกณฑ์ของอิลิเมนต์ (element)

21 3. ห้ามระบุแท็กเหลื่อมซ้อนกัน (overlap) คือ แท็กที่เปิดก่อนต้องปิด หลังสุด เช่น การใช้งาน XML ในกรณีที่ ผิด ยกตัวอย่างเช่น การใช้งาน XML กฏเกณฑ์ของอิลิเมนต์ (element)

22 4. ชื่อแท็กมีคุณสมบัติ case-sensitive คิอตัวอักษรพิมพ์ เล็กพิมพ์ใหญ่ถือว่าแตกต่างกัน ตัวอย่าง Data กฏเกณฑ์ของอิลิเมนต์ (element)

23 5. สำหรับแท็กที่ไม่มีข้อมูลอยู่ระหว่างแท็กมี วิธีเขียนได้ 2 แบบ แบบที่หนึ่งคือ แบบที่สองคือ นิยมในแบบที่สองมากกว่า กฏเกณฑ์ของอิลิเมนต์ (element)

24 6. ค่าของแอตทิบิวต์ ต้องอยู่ใน เครื่องหมายคำพูดแบบ double quote (“) หรือ single quote (‘) อย่างใด อย่างหนึ่ง เช่น สังเกตว่า ตัวอย่างนี้เป็นแท็กที่มีไม่มี ข้อมูลอยู่แต่ก็มี แอตทิบิวต์ได้เหมือนแท็กที่มีข้อมูลอยู่ปกติ ทุกอย่าง กฏเกณฑ์ของอิลิเมนต์ (element)

25 7. ในภาษา XML มีอักขระซึ่งสงวนไว้ 5 ตัว เพราะต้องใช้เป็นส่วนประกอบตาม โครงสร้างของภาษา ดังนั้น หากข้อมูล (Data) จำเป็นต้องมีอักขระ เหล่านี้ ก็ต้องระบุเป็นชุดอักษรพิเศษแทน ซึ่ง อักษรพิเศษชุดนี้เรียกว่า Entity Reference อักขระและ Entity Reference ทั้ง 5 มีดังนี้ กฏเกณฑ์ของอิลิเมนต์ (element)

26 ในภาษา XML มีอักขระซึ่งสงวนไว้ 5 ตัว เพราะต้องใช้เป็น ใช้อักษร > & ใช้อักษร & “ ใช้อักษร " ‘ ใช้อักษร &apos; เช่น ต้องการใส่ข้อมูล ว่า x x<5 กฏเกณฑ์ของอิลิเมนต์ (element)

27 8. การตั้งชื่อแท็กมีหลักเกณฑ์ที่ควรจำ ดังนี้ 8.1 ชื่อแท็กต้องขึ้นต้นด้วยอักษรหรือ เครื่องหมาย under_score ( _ ) เท่านั้น 8.2 ตัวถัดไปต้องเป็นตัวอักษร ตัวเลข เครื่องหมายจุด เครื่องหมายยัติภังค์ ( - ) เครื่องหมาย under_score ( _ ) หรือ เครื่องหมาย ( : ) เท่านั้น แต่ยังไม่แนะนำให้ใช้ : เพราะมีปัญหากับ เรื่องของเนมสเปซ (namespace) กฏเกณฑ์ของอิลิเมนต์ (element)

28 8. การตั้งชื่อแท็ก ( ต่อ ) 8.3 ชื่อแท็กมีคุณสมบัติ Case- Sensitive 8.4 อักษร 3 ตัวแรกของชื่อแท็กห้าม เป็นคำว่า XML ไม่ว่าจะใช้ตัวเล็กหรือตัว ใหญ่เพื่อเป็นการสงวนไว้ใช้ในอนาคต กฏเกณฑ์ของอิลิเมนต์ (element)

29 แท็กใดตั้งชื่อได้ถูกต้อง

30 แท็กใดตั้งชื่อได้ถูกต้อง

31 ตัวอย่างที่ 1 ทดลองใช้งาน XML โดยแปลง ข้อมูลในตาราง

32 ผลการแปลงข้อมูลจากตารางเป็น XML

33 ตัวอย่างที่ 2 ทดลองใช้งาน XML โดยแปลง ข้อมูลในตาราง

34 ผลการแปลง ข้อมูล จากตาราง เป็น XML

35 ตัวอย่าง การใช้งานดับลินคอร์ สำหรับ XML UKOLN UKOLN is a national focus of expertise in digital information management. It provides policy, research and awareness services to the UK library, information and cultural heritage communities. UKOLN is based at the University of Bath. UKOLN, University of Bath http://www.ukoln.ac.uk/

36 ตัวอย่าง การแปลงข้อมูลจาก XML ให้อยู่ ในรูปตาราง dc:titledc:descriptiondc:publis her dc:identifi er UKOLN UKOLN is a national focus of expertise in digital information management. It provides policy, research and awareness services to the UK library, information and cultural heritage communities. UKOLN is based at the University of Bath. UKOLN, University of Bath http://www.ukoln.ac.uk / Metadata


ดาวน์โหลด ppt XML ( Extensible Markup Language ). ภาษาที่ได้รับการออกแบบมาเพื่อให้สามารถ นิยามความหมายของข้อมูลได้ หรือที่เรียกว่า Data definition โดยอนุญาตให้ผู้ใช้นิยามแท็ก.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google