งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การคิดวิเคราะห์เพื่อการพัฒนางาน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การคิดวิเคราะห์เพื่อการพัฒนางาน"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การคิดวิเคราะห์เพื่อการพัฒนางาน
สำหรับ ผู้ช่วยหัวหน้ากลุ่มงานส่งเสริมการพัฒนาชุมชน สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด (Creative Thinking) 3 กุมภาพันธ์ 2558

2 วัตถุประสงค์ เพื่อให้สามารถแปลงยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชนไปสู่การปฏิบัติ และนิเทศงานตามแนวทางการขับเคลื่อนขององค์กร สามารถใช้เครื่องมือในการคิดวิเคราะห์การทำงาน และเขียนข้อเสนอแนะเชิงนโยบายได้

3 “You must change before you have to.” (Jack Welch)
ทำไมองค์กรทั้งหลายต่างมุ่งเน้นการพัฒนาที่จะปรับเปลี่ยนองค์กร “Repeating the same behaviors while expecting the different result is an insane” (Albert Einstein) “You must change before you have to.” (Jack Welch)

4 ทำไมองค์กรทั้งหลายต่างมุ่งเน้นการพัฒนาที่จะปรับเปลี่ยนองค์กร
Let’s Play in the Creative Economy

5 การปรับเปลี่ยนแปลงองค์กรเพื่อเพิ่มคุณค่าที่สูงขึ้น ?
ที่มา :

6 ความคิด Thinking) ลำดับขั้นของความคิด ความคิดเข้าใจ (Comprehension)  ประกอบด้วยกลุ่มความคิดแปลความ(Translation)   ความคิดตีความ(Interpretation)  ความคิดขยายความ(Extrapolation) ความคิดนำไปใช้ (Application) ความคิดวิเคราะห์ (Analysis)   ประกอบด้วยการคิดวิเคราะห์หน่วย(Analysis of Elements)   การคิดวิเคราะห์ความสัมพันธ์ (Analysis of Relations)   การคิดวิเคราะห์หลักการ (Analysis of Organizational Principles) ความคิดสังเคราะห์ (Synthesis )   ได้แก่  การคิดสังเคราะห์ข้อความ(Production of Unique Communication)    การคิดสังเคราะห์แผนงาน (Production of a Plan)   คิดสังเคราะห์ความสัมพันธ์ (Derivation of a set of Abstract Relation) การคิดประเมินค่า (Evaluation)  ประกอบด้วย  การคิดประเมินค่าโดยใช้เกณฑ์ภายใน (Judgement in terms of Internal Evidence)  คิดประเมินค่าโดยใช้เกณฑ์จากภายนอก (Judgement interms of External Criteria) คือ กระบวนการประมวลผลของสมอง โดยรับข้อมูลผ่านประสาทสัมผัส ทั้งนี้สามารถฝึกฝนและพัฒนาได้

7 นโยบาย คือ ?

8 องค์ประกอบของนโยบาย

9 องค์ประกอบของนโยบาย

10 ข้อเสนอเชิงนโยบาย เพื่อ...?
ข้อเสนอเชิงนโยบาย เพื่อ...?

11 หลักการเขียนข้อเสนอเชิงนโยบาย

12 หลักการเขียนข้อเสนอเชิงนโยบาย

13 หลักการเขียนข้อเสนอเชิงนโยบาย
3 – 4 แหล่ง

14 หลักการเขียนข้อเสนอเชิงนโยบาย
วิจัย พหุกรณีศีกษา วิเคราะห์เอกสาร อื่นๆ

15 หลักการเขียนข้อเสนอเชิงนโยบาย

16 หลักการเขียนข้อเสนอเชิงนโยบาย

17 เราคิดวิเคราะห์ เมื่อ...
เราคิดวิเคราะห์ เมื่อ... อยู่ภายใต้สภาวะที่ต้องแข่งขัน อยู่ในสภาวะที่ต้องแก้ปัญหา มีเป้าหมายที่ต้องบรรลุ ภายใต้ทรัพยากรที่จำกัด

18 ปัญหาหรือเป้าหมาย ถ้าไม่รู้ปัญหาหรือเป้าหมาย ก็จะไม่สามารถหาทางแก้ได้ หรือหนทางที่จะทำให้เป้าหมายนั้นสำเร็จได้ รู้ปัญหาหรือเป้าหมายที่ผิดๆ ก็จะแก้ปัญหาหรือนำทางไปยังเป้าหมายผิดๆ

19 ประเภทปัญหา แบ่งออกเป็น 3 ประเภท ปัญหาแบบมีโครงสร้าง
มีสมการ มีสูตรคำนวณ สามารถคำตอบจากสูตร ปัญหาแบบไม่มีโครงสร้าง ปัญหาที่ไม่มีสูตรตามตัว เช่น ปัญหาส่วนตัว ความขัดแย้ง ปัญหาแบบกึ่งโครงสร้าง ปัญหาที่ไม่มีสูตร แต่สามารถดึงองค์ประกอบอื่นๆ มาช่วยในการคิดตัดสินใจ เช่น สัญญานิติกรรมที่ทำไว้ ข้อกฎหมาย

20 การวิเคราะห์ปัญหา กำหนดปัญหา รวบรวมข้อมูล ตั้งสมมุติฐาน หาข้อสรุป
หาสาเหตุการป่วย รวบรวมข้อมูล ทำไมเด็กถึงป่วย (ไม่ควรด่วนสรุป) ตั้งสมมุติฐาน ทดลองตั้งสมมุติฐาน สาเหตุของการป่วย หาข้อสรุป การสรุปควรสรุปบนพื้นฐานที่ เป็นวิทยาศาสตร์ หรืออาจกระทำโดยการ ทดลองให้มั่นใจถึงสาเหตุที่แท้จริง กำหนดปัญหา หาสาเหตุการป่วย รวบรวมข้อมูล ทำไมเด็กถึงป่วย (ไม่รู้ด่วนสรุป) เพราะนอกจากในส่วนของหน่อไม้แล้ว บางคนอาจทานอาหารอื่นๆเข้าไปด้วย หรือ อาจจะเกิดจากภาชนะที่ใช้ในการปรุงอาหาร ภาชนะที่ใช้ใส่อาหาร ตั้งสมมุติฐาน ทดลองตั้งสมมุติฐานว่า หากสาเหตุนี้คือสาเหตุของการป่วย หาข้อสรุป การสรุปควรสรุปบนพื้นที่เป็นวิทยาศาสตร์ เช่น ข้อมูลที่เป็นเหตุเป็นผล หรืออาจกระทำโดยการทดลองก่อน ว่านั้นคือสาเหตุที่แท้จริง

21 จะเลือกข้อเสนอได้ ต้องวิเคราะห์สาเหตุของปัญหาให้ได้เสียก่อน

22 เครื่องมือช่วยคิด 5 W 1 H What, When, Where, Why, Who and How 5W 1H
(เรียกเล่นว่า 5 ภรรยา (5 Wife) 1 สามี (1 Husband) เป็นการถามคำถาม เพื่อวิเคราะห์เบื้องต้น เช่น กรณีสินค้าของชุมชนจึงขายได้ไม่ดี อะไรทำให้สินค้าของเราขายไม่ดี ช่วงใดบ้างที่สินค้าของเราขายดี สถานที่เรามีความเหมาะสมหรือไม่ ทำไมคนถึงไม่เลือกสินค้าของเรา ใครคือกลุ่มลูกค้าของเรา ทำอย่างไรเพื่อให้สินค้าขายได้ดี

23 เครื่องมือช่วยคิด แผนภูมิกางปลา Fish Bone Diagram
แผนผังสาเหตุและผลเป็นแผนผังที่แสดงถึงความสัมพันธ์ระหว่างปัญหา (Problem) กับสาเหตุทั้งหมดที่เป็นไปได้ที่อาจก่อให้เกิดปัญหานั้น (Possible Cause)

24 ขั้นตอนการทำแผนภูมิก้างปลา
แบ่งเป็น 6 ขั้นตอน ดังต่อไปนี้ 1. กำหนดประโยคปัญหาที่หัวปลา 2. กำหนดกลุ่มปัจจัยที่จะทำให้เกิดปัญหานั้นๆ 3. ระดมสมองเพื่อหาสาเหตุในแต่ละปัจจัย 4. หาสาเหตุหลักของปัญหา 5. จัดลำดับความสำคัญของสาเหตุ 6. ใช้แนวทางการปรับปรุงที่จำเป็น

25 แผนภูมิก้างปลา ปัญหา กลุ่มปัจจัย กลุ่มปัจจัย ควรกำหนดเป็นกลุ่มๆดังนี้
รายละเอียดย่อย กลุ่มปัจจัย ควรกำหนดเป็นกลุ่มๆดังนี้ M-Man บุคลากร หรือ คนงาน M-Machine เครื่องจักร อุปกรณ์อำนวยความสะดวก M-Material วัตถุดิบ อุปกรณ์ M-Method กระบวนการทำงาน E-Environment บรรยากาศ สภาพแวดล้อม

26 แก้ง่าย ได้ผลน้อย แก้ง่าย ได้ผลมาก แก้ยาก ได้ผลน้อย แก้ยาก ได้ผลมาก
การพิจารณาสาเหตุ เครื่องมือช่วยกรองปัญหา ง่าย แก้ง่าย ได้ผลน้อย แก้ง่าย ได้ผลมาก การแก้ปัญหา แก้ยาก ได้ผลน้อย แก้ยาก ได้ผลมาก โดยวิเคราะห์ว่าปัญหาที่พบ อาจจะมากกว่าที่คิด ให้ดูว่า ผลลัพธ์หากดำเนินการกับปัญหานั้น มีผลลัพธ์มากหรือน้อย โดยเทียบกับความยากง่ายของการลงทุนในการแก้ปัญหานั้นๆ เพราะบางครั้งสิ่งต่างๆเหล่านั้นอาจจะไม่ได้ตอบโจทย์ของกลยุทธ์เลย เราอาจจะมองผลลัพธ์ว่ามีความสอดคล้องกลับกลยุทธ์มากหรือน้อยก็ได้เช่นกัน ยาก ผลลัพธ์ มาก น้อย

27 เครื่องมือช่วยคิด 5 W ถามทำไม 5 ครั้ง Brain Storm ระดมความคิด
6 Thinking Hat คิดแบบหมวก 6 แบบ แบ่งบทบาทให้คิดในบริบทที่ต่างกัน

28 แบบทดสอบการสรุปปัญหา
Workshop ปัญหาและสาเหตุของปัญหาของกระบวนการส่งเสริมและพัฒนาทุนชุมชน องค์กรการเงินชุมชน กองทุนชุมชน ตลอดจนการบริหารจัดการทุนชุมชน ทั้งทางด้านวิชาการ เครื่องมือการทำงานและการปฏิบัติงานแก่อำเภอ หน่วยงาน ภาคีการพัฒนาทุกภาคส่วนและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเพื่อให้ชุมชนเข้มแข็ง สามารถพึ่งตนเองได้และมีมาตรฐานเป็นที่ยอมรับ คืออะไร โดยใช้แผนภูมิก้างปลา

29 กำหนดทางเลือกของข้อเสนอแนะ
ต้องเป็นข้อเสนอที่มีโอกาสประสบความสำเร็จตามเป้าหมายสูงสุด

30 ทฤษฎีระบบ เป็นทฤษฎีที่สะท้อนให้เห็นมากที่สุด
กล่าวคือ หากต้องการให้ผลลัพธ์ออกมาอย่างไร ต้องมีทรัพยากรต้นทางอย่างไร และมีกระบวนการอย่างไร จึงจะได้ผลลัพธ์ตามที่ต้องการ

31 ผ่านไประยะหนึ่งต้องประเมินผล
เพื่อวัดผลของข้อเสนอที่ได้นำไปดำเนินการทั้งหมด ว่าสามารถบรรลุได้ตามที่คาดหวังไว้หรือไม่ รวมไปถึงวิเคราะห์ปรับแก้ข้อเสนอใหม่ๆต่อไป

32 ทั้งนี้ความสำเร็จและความล้มเหลว อยู่ใกล้กันมากห

33 ถาม - ตอบ

34 แบบทดสอบการสรุปปัญหา 2
มีคนในหมู่บ้านของท่านจำนวน 50 คนป่วยจากอาการปวดท้อง และ อาเจียน โดยทั้ง 50 คนนั้น ได้ทาน หน่อไม้ ในงานเลี้ยงฉลองครบรอบการก่อตั้งกลุ่มสหกรณ์ ในขณะที่คนอื่นๆที่เหลือที่ทานอาหารมาจากบ้านไม่มีอาการใดๆ การวิเคราะห์ปัญหาในครั้งที่สองนี้จะมีความรอบครอบมากขึ้น และจะเห็นได้ว่าจากข้อมูลที่ได้ทั้งหมดนั้น อาจจะเป็นข้อมูลจริงเพียงบางส่วนเท่านั้น ดังนั้นการวิเคราะห์ปัญหาก็จะมีความหลากหลายมากขึ้นเช่นกัน ให้แต่ละกลุ่มออกมานำเสนอว่าสรุปปัญหานั้นอย่างไร (การสรุปนี้ ไม่มีกรอบหรือวิธีให้) ทั้งนี้บางกลุ่มอาจจะมีความรู้สึกว่าข้อมูลที่ให้ หรือรู้ไม่เพียงพอ อาจจะวางเป็นแผนในเชิงของการหาข้อมูลเพิ่มจชขึ้น ท่านจะสรุปปัญหาที่ว่านี้อย่างไร


ดาวน์โหลด ppt การคิดวิเคราะห์เพื่อการพัฒนางาน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google