งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

King Mongkut's Institute of Technology Ladkrabang Study of iodine salt ribbon mixer prototype efficiency การศึกษาประสิทธิภาพของเครื่องผสมเกลือ ไอโอดีนชนิดริบบอนต้นแบบ.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "King Mongkut's Institute of Technology Ladkrabang Study of iodine salt ribbon mixer prototype efficiency การศึกษาประสิทธิภาพของเครื่องผสมเกลือ ไอโอดีนชนิดริบบอนต้นแบบ."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 King Mongkut's Institute of Technology Ladkrabang Study of iodine salt ribbon mixer prototype efficiency การศึกษาประสิทธิภาพของเครื่องผสมเกลือ ไอโอดีนชนิดริบบอนต้นแบบ ผศ. ดร. วริพัสย์ อารีกุล ( หัวหน้า โครงการวิจัย ) ดร. ประมวล ศรีกาหลง ( นักวิจัย ) คุณ ณรงค์ ด่านวิเศษกาญจน ( นักวิจัย ) คุณ ณิศรา เครือบหิรัญ ( ผู้ช่วย นักวิจัย ) คุณ นิทัศน์ แย้มแสง ( ผู้ช่วย นักวิจัย ) คุณ วลัยวรันธร เดชบุญ ( ผู้ช่วย นักวิจัย ) คณะอุตสาหกรรมเกษตร สาขาวิศวกรรมแปรรูป อาหาร

2  ผสมแบบครั้งคราว  ผสมได้ 40 กิโลกรัม ต่อครั้ง  ใช้ใบกวนผสมแบบ ริบบอน 2 ชั้น  ให้ความร้อนโดยใช้ ระบบแก๊ส LPG  ควบคุมการหมุนใบ กวนแบบอัตโนมัติ

3  ทำหน้าที่บรรจุ เกลือ และรองรับ การผสม สามารถ ผสมได้คราวละ 40 กิโลกรัม

4  ใบกวนผสม แบบ ริบบอน 2 ชั้น มี หน้าที่ผสม และ คลุกเคล้า เกลือ ให้เข้ากับ สารละลาย ไอโอดีน

5  มีหน้าที่เก็บไอโอดีน และควบคุมการจ่าย ไอโอดีน ให้มี ปริมาตร สม่ำเสมอ

6  มีหน้าที่ควบคุม ความเร็วของใบกวน ในการผสมเกลือ และ สามารถควบคุมทิศ ทางการผสมได้อย่าง ต่อเนื่อง

7 เตรียมสารละลาย โพแทสเซียม ไอโอเดตโดยชั่ง KIO 3 9.62 g ปรับปริมาตร ด้วยน้ำกลั่นให้ครบ 1000 ml ชั่งเกลือ 40 kg ปล่อย สารละลาย KIO 3 280.75 ml ทำการผสม ที่อุณหภูมิ 50°C,60°C,70°C ที่ความเร็ว รอบ 25Hz,35Hz,45Hz และที่ เวลา 4min,8min,12min,16min เก็บตัวอย่างทุกช่วงเวลา 5 ตำแหน่ง ตัวอย่างละ 100 g นำใส่ถุงแล้ว ทำการปิด ปากถุง ทำการผสม 2 ซ้ำ นำตัวอย่าง ทั้งหมด วิเคราะห์หาปริมาณไอโอดีน และหา ความชื้น อย่างละ 2 ซ้ำ ตัวอย่างเกลือที่ ผสมแล้ว

8

9

10

11 Mixing time (min) Rep Iodine content (ppm) in 5 position Mean Stand ard Deviat ion %CV 12345 4 133.8434.4534.0433.9431.97 33.650.972.87 233.9435.6134.2534.7035.76 34.850.812.32 8 132.4331.7232.5832.9832.88 32.520.501.54 235.1534.4034.3536.8237.23 35.591.363.81 12 133.6934.7535.0034.5034.95 34.580.541.55 234.6534.3534.7534.6034.75 34.620.170.48 16 134.7032.3833.2832.7833.69 33.370.902.69 234.3534.4033.8433.8935.56 34.410.692.01

12 Temperature ( °C) Moisture (%) Mixing time (min) Iodine content (ppm) %CV 40 2.5 341.69 ± 1.293.09 640.59 ± 0.441.09 940.75 ± 0.491.21 1239.69 ± 0.360.90 1540.05 ± 0.751.86 1840.43 ± 1.002.48 3.5 341.59 ± 0.691.67 640.01 ± 0.751.87 942.04 ± 0.601.42 1240.19 ± 1.513.75 1540.75 ± 1.623.98 1840.67 ± 1.503.69 4.5 334.38 ± 0.180.54 634.13 ± 0.361.07 933.41 ± 0.431.30 1236.33 ± 0.772.13 1535.83 ± 0.812.25 1835.75 ± 1.413.95 RT 2.5 338.39 ± 3.228.38 638.55 ± 3.328.60 940.26 ± 3.087.64 1238.96 ± 2.947.54 1540.58 ± 3.328.17 1840.09 ± 3.909.72 3.5 337.62 ± 0.391.04 637.33 ± 0.922.46 937.23 ± 0.922.47 1237.20 ± 0.892.39 1536.98 ± 1.012.73 1836.90 ± 0.932.51 4.5 338.46 ± 2.897.51 638.15 ± 3.248.50 937.60 ± 3.669.72 1235.83 ± 1.694.72 1535.01 ± 1.614.61 1834.48 ± 0.601.74

13  การผสมทั้งแบบ หยดสารละลายไอโอดีน และ แบบพ่นฝอย สามารถนำมาใช้ในการผสมได้ อย่างมีประสิทธิภาพ  ระยะเวลาในการผสมทั้งหมดประมาณ ( โดยใช้ แรงงาน 1-2 คน ) 10-15 นาที ( ขึ้นกับความ ชำนาญของแต่ละบุคคล )  ในระยะเวลา 8 ชั่วโมง เมื่อเทียบกับการผสม 40 กิโลกรัม ต่อ การผสม 1 ครั้ง จะสามารถผสมได้ มากกว่า 1,280 กิโลกรัม

14  ความจุของเครื่องต้นแบบสูงสุดเท่ากับ 40 กิโลกรัมต่อรอบการผลิต  การใช้เกลือที่มีความชื้นสูง ไม่ควรเกิน 4.5 เปอร์เซ็นต์  กล่องควบคุมการทำงานของระบบ ควรติดตั้ง ให้ห่างจากถังผสม เพื่อป้องกันการกัดกร่อน หรือ เพิ่มกล่องป้องกันการกัดกร่อน  การปรับเปลี่ยนลักษณะใบกวนเล็กน้อยจะ ช่วยทำให้การผสม และนำเกลือไอโอดีน ออกจากเครื่องผสมได้อย่างมีประสิทธิภาพ

15


ดาวน์โหลด ppt King Mongkut's Institute of Technology Ladkrabang Study of iodine salt ribbon mixer prototype efficiency การศึกษาประสิทธิภาพของเครื่องผสมเกลือ ไอโอดีนชนิดริบบอนต้นแบบ.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google