งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

X ให้วัคซีนป้องกันโรคหัด ในเด็ก อายุ 2 ½ - 7 ปี (MR : พค.-กย. 58)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "X ให้วัคซีนป้องกันโรคหัด ในเด็ก อายุ 2 ½ - 7 ปี (MR : พค.-กย. 58)"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 X ให้วัคซีนป้องกันโรคหัด ในเด็ก อายุ 2 ½ - 7 ปี (MR : พค.-กย. 58)
รณรงค์ให้วัคซีนป้องกัน โรคคอตีบในผู้ใหญ่ อายุ ปี ทั่วประเทศ (dT) ให้วัคซีนป้องกันโรคหัด ในเด็ก อายุ 2 ½ - 7 ปี (MR : พค.-กย. 58) รณรงค์ให้วัคซีนโปลิโอ ในจังหวัดชายแดน ภาคใต้ สำรวจการได้รับวัคซีน ในกลุ่มเสี่ยงและเร่งรัด เพิ่มความครอบคลุม ในกลุ่มที่มีปัญหา โครงการเฉลิมพระเกียรติในวโรกาสทรงเจริญพระชนมายุ ครบ 60 พรรษา สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ปี พ.ศ สร้างความเข้มแข็งอย่างยั่งยืนของระบบงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคของประเทศไทย

2 โครงการรณรงค์ให้วัคซีนป้องกันโรคคอตีบ และหัด เฉลิมพระเกียรติสมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในโอกาสฉลองพระชนมายุ 5 รอบ 2 เมษายน 2558 รณรงค์ให้วัคซีนป้องกัน โรคคอตีบในผู้ใหญ่ อายุ ปี ทั่วประเทศ (dT) ให้วัคซีนป้องกันโรคหัด ในเด็ก อายุ 2 ½ - 7 ปี (MR : พค.-กย. 58) รณรงค์ให้วัคซีนโปลิโอ ในจังหวัดชายแดน ภาคใต้ สำรวจการได้รับวัคซีน ในกลุ่มเสี่ยงและเร่งรัด เพิ่มความครอบคลุม ในกลุ่มที่มีปัญหา สร้างความเข้มแข็งอย่างยั่งยืนของระบบงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคของประเทศไทย

3 มาตรการ เร่งรัดความครอบคลุมการได้รับวัคซีนตามกำหนดปกติในเด็กกลุ่มเสี่ยง รณรงค์ให้วัคซีนเพื่อปิดช่องว่างระดับภูมิคุ้มกันในประชากรกลุ่มเสี่ยง วัตถุประสงค์ ให้คนไทยมีภูมิคุ้มกันโรคที่ป้องกันด้วยวัคซีนได้ทั่วถึง เสริมให้การกวาดล้างโรคโปลิโอและกำจัดโรคหัดเป็นผลสำเร็จ ป้องกันโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนไม่ให้กลับมาระบาดใหม่ โครงการเฉลิมพระเกียรติในวโรกาสทรงเจริญพระชนมายุ ครบ 60 พรรษา สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ปี พ.ศ ตัวชี้วัด ความครอบคลุมการได้รับวัคซีนทุกชนิดในประชากรกลุ่มเป้าหมาย >90% (ยกเว้น MMR >95%) ผู้ป่วยโปลิโอ = 0 พบผู้ป่วยหัด - ปี 57 ไม่เกิน 3.5/แสน (2,275 ราย) - ปี 58 ไม่เกิน 2.5/แสน (1,625 ราย) พบผู้ป่วยคอตีบ < ต่อแสนประชากร (7 ราย) พบผู้ป่วยไอกรน < ต่อแสนประชากร (7 ราย)

4 การดำเนินงานโครงการเฉลิมพระเกียรติฯ
ปีงบประมาณ งบประมาณ 2557 2558 1. สร้างความเข้มแข็งอย่างยั่งยืนของระบบงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคของประเทศไทย - พัฒนาระบบงาน - พัฒนาระบบคน 30 ล้าน 2. สำรวจการได้รับวัคซีนตาม กำหนดปกติในพื้นที่เสี่ยง 0.4 ล้าน 3. รณรงค์ให้วัคซีนป้องกันโรค คอตีบในผู้ใหญ่อายุ ปีทั่วประเทศ 140 ล้าน 220 ล้าน 4. ให้วัคซีนป้องกันโรคหัดในเด็ก อายุ 2 ½ ปี ถึง 7 ปี 580.6 ล้าน 5. รณรงค์ให้วัคซีนโปลิโอใน จังหวัดชายแดนภาคใต้ 16.9 ล้าน รวม 187.3 ล้าน 847.5 ล้าน ภายใน 2 ปี มีค.-เมย.57 มุกดาหาร พ.ย.56 ม.ค.57 พค.-กย.58 ตค.-พย.57 มค.-เมย.58 ในโครงการให้วัคซีนหัดในเด็กอายุ 2 ½ ปี – 7 ปี ปี 57 เป็นงบปกติ สำหรับเด็กอายุ 2 ½ ปี และเด็ก ป.1 ปี 58 สำหรับเด็กอายุ 3-6 ปี (คิด cohort ละ 8 แสน ใน 4 cohort เท่ากับ 3.2 ล้านคน วัคซีนคิด MR โด๊ซละ 100 ล้านบาท) รวม 2 ปี ล้านบาท

5 โครงการกำจัดโรคหัด ตามพันธะสัญญานานาชาติ
5

6 จำนวนผู้ป่วยยืนยันโรคหัด (IgM positive) จำแนกตามกลุ่มอายุ พ.ศ.2555

7 แนวทางการให้วัคซีน MR เข็มที่ 2 เพื่อเร่งภูมิคุ้มกันต่อโรคหัด ในเด็กอายุ 2.5 - 7 ปี
พญ. ปิยนิตย์ ธรรมาภรณ์พิลาศ นายแพทย์ทรงคุณวุฒิด้านเวชกรรมป้องกัน ผู้อำนวยการศูนย์ประสานงานโครงการกวาดล้างโปลิโอและโรคหัด ตามพันธะสัญญานานาชาติ กรมควบคุมโรค

8 การให้วัคซีนหัด เดิม ใหม่ : สิงหาคม 2557 อายุ อายุ อนาคตยกเลิก
เดือน เข็มที่ 1 7 ปี (ป. 1) เข็มที่ 2 อายุ : สิงหาคม 2557 เดือน เข็มที่ 1 7 ปี (ป. 1) อายุ 2 ½ ปี เข็มที่ 2 อนาคตยกเลิก พฤษภาคม – กันยายน 2558 ใหม่

9 การปฏิบัติในเรื่อง MMR2
สปสช ได้จัดหาวัคซีนเพิ่ม และดำเนินการตามมติดังกล่าวได้ตั้งแต่ สค. 57 นอกจากนี้ เพื่อประโยชน์สูงสุดต่อเด็กกลุ่มนี้ กรมควบคุมโรคจะจัดหาวัคซีน เพื่อปิด gap immunity แก่เด็กอายุระหว่าง ปี พร้อมกันครั้งเดียวในปี 2558 ปิด gap (เริ่ม 2558) 9 เดือน (เข็มหนึ่ง) 2.5 ปี (เริ่ม สค 2557) 7 ปี/ป.1 (ยกเลิกปี 59)

10 เด็กกลุ่มที่ต้องให้วัคซีน (ป.1) เหลือเก็บตก บางราย
ส.ค. 57 เด็กกลุ่มที่ต้องให้วัคซีน พ.ค. - ก.ย. 58 กำหนดเวลา ปฏิบัติงาน เด็กเกิด เด็กเกิด ก.พ. 55 เป็นต้นไป เด็ก 7 ปี กำหนดตาราง เดิม MMR 2 อายุ 7 ปี (ป.1) ปี 2558 พ.ค. 58 เด็กเกิด พ.ค. 51 เด็ก ป.1 ปี 58 พ.ค. 59 31 ม.ค. 55 ก.ย. 58 เด็กอายุ 3 ปี 3 เดือน ถึง 6 ปี 11 เดือน ยกเลิก MMR 2 (ป.1) เหลือเก็บตก บางราย สิ้นสุด การให้ MR 2 เริ่ม MMR 2 อายุ 2.5 ปี 1 มิ.ย. 51 เริ่ม การให้

11 การเตรียมการก่อนให้วัคซีน ประมาณ เดือนมีนาคม 2558
การเตรียมการก่อนให้วัคซีน ประมาณ เดือนมีนาคม 2558 สำรวจกลุ่มเป้าหมาย คาดประมาณจำนวนวัคซีน วางแผนปฏิบัติการ

12 เอกสารหมายเลข 1 ในแนวทางการให้วัคซีน MR เข็มที่ 2
แบบสำรวจเด็กที่เกิดระหว่างวันที่ 1 มิถุนายน 2551 ถึง วันที่ 31 มกราคม 2555 สถานบริการ หมู่ที่ ตำบล อำเภอ จังหวัด ลำดับที่ ชื่อ - นามสกุล ที่อยู่ สถานที่เลี้ยงเด็ก วันรับวัคซีน หมายเหตุ บ้าน ศูนย์เด็กเล็ก รร. อนุบาล เอกสารหมายเลข 1 ในแนวทางการให้วัคซีน MR เข็มที่ 2

13 โปรแกรม HOSxP

14

15

16

17

18 กำหนดช่วงเวลาการจัดส่งวัคซีน MR
แจ้งปริมาณวัคซีน จำนวนรอบ และกำหนดวันส่งวัคซีนในแต่ละรอบ เภสัชกรขัตติยะ อุตม์อ่าง ประสานจังหวัดในภาคเหนือ (เขตบริการสุขภาพที่ 1-3) โทรศัพท์ โทรศัพท์มือถือ อีเมล์ 2. เภสัชกรหญิงปิยะนาถ เชื้อนาค ประสานกับจังหวัดในภาคกลาง (เขตบริการสุขภาพที่ 4-6) โทรศัพท์ โทรศัพท์มือถือ อีเมล์ เภสัชกรอภิชัย พจน์เลิศอรุณ ประสานกับจังหวัดในภาคใต้ (เขตบริการสุขภาพที่ 7-12) โทรศัพท์ โทรศัพท์มือถือ อีเมล์

19 แบบสำรวจการเบิกวัคซีน MR เพื่อปิดช่องว่างระดับภูมิคุ้มกันต่อโรคหัด
สำหรับเด็กที่เกิดระหว่างวันที่ 1 มิถุนายน 2551 ถึง 31 มกราคม 2555 จังหวัด คลังวัคซีนโรงพยาบาล จำนวนเด็กกลุ่มเป้าหมาย (คน) จำนวนวัคซีน ที่ขอเบิก (ขวด) รอบที่ 1 รอบที่ 2 ผู้ประสานการรับวัคซีน วดป.ที่ให้จัดส่ง จำนวนวัคซีน (ขวด) วดป ที่ให้จัดส่ง ชื่อ เบอร์โทรศัพท์ เอกสารหมายเลข 2 ในแนวทางการให้วัคซีน MR เข็มที่ 2

20 แผนการรณรงค์ให้วัคซีนในงาน EPI งบประมาณ 2558
ต.ค. 57 พ.ย. ธ.ค. ม.ค. 58 ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. dT ปี ภาคอิสาน กำหนดใหม่ 57 จังหวัด กำหนดเดิมตามแผน 58 MR FLU MR น.ร.ป.1 dT น.ร.ป.6 SIA OPV + EPI (ปีเว้นปี) ตามความต้องการ ของพื้นที่ (หมู่บ้าน/ชุมชน/กลุ่มบ้าน) ตรวจสอบปริมาณความจุของตู้เย็น

21 การให้บริการวัคซีน 2558 แล้วให้วัคซีน MR ครั้งนี้* ดังตาราง ไม่ต้องให้
ตรวจสอบประวัติการได้รับวัคซีน MMR ในอดีต แล้วให้วัคซีน MR ครั้งนี้* ดังตาราง ประวัติการได้รับวัคซีน ในอดีต การให้วัคซีนครั้งนี้ ไม่เคยได้รับวัคซีน/ไม่ทราบ 1 เข็ม แล้วให้อีก 1 ครั้งเมื่อเข้าเรียนชั้น ป.1 เคยได้ 1 เข็ม 1 เข็ม (ห่างกันอย่างน้อย 1 เดือน) เคยได้ 2 เข็ม (เข็มสุดท้ายอายุตั้งแต่ 18 เดือน) ไม่ต้องให้ วัคซีน MR ครั้งนี้* : เด็กเกิด 1 มิย. 51 ถึง 31 มค. 55

22 การปฏิบัติงานหลังให้บริการ
การติดตามเด็กกลุ่มเป้าหมายที่ไม่มารับวัคซีน MR  การจัดทำรายงาน รายงานความครอบคลุมการได้รับวัคซีน MR ในพื้นที่รับผิดชอบ (เป้าหมายไม่ต่ำกว่า 95 %) รายงานการให้บริการวัคซีน MR

23 เอกสารหมายเลข 4 ในแนวทางการให้วัคซีน MR เข็มที่ 2
ในเด็กกลุ่มเป้าหมายที่เกิดระหว่างวันที่ 1 มิถุนายน 2551 ถึง วันที่ 31 มกราคม 2555 สถานบริการ ตำบล อำเภอ จังหวัด หมู่ที่ จำนวนเด็กกลุ่มเป้าหมาย ที่มีอยู่จริงในพื้นที่รับผิด ชอบ จำนวนเด็กกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับวัคซีน MR เด็กกลุ่มเป้าหมายในจังหวัด เด็กกลุ่มเป้าหมาย นอกจังหวัด เด็กต่าง ชาติ ผลการให้วัคซีน เด็กกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่ เด็กกลุ่มเป้าหมายนอกพื้นที่ ได้รับในพื้นที่ ได้รับจากที่อื่น ความครอบ คลุม (%) (1) (2) (3) (4) (5) (6) (7) (8) รวม เอกสารหมายเลข 4 ในแนวทางการให้วัคซีน MR เข็มที่ 2

24 ตำบล แบบ MR 3 แบบรายงานผลการให้วัคซีน MR
ในเด็กกลุ่มเป้าหมายที่เกิดระหว่างวันที่ 1 มิถุนายน 2551 ถึง วันที่ 31 มกราคม 2555 อำเภอ จังหวัด ตำบล จำนวนเด็กกลุ่มเป้าหมายที่มีอยู่จริงในพื้นที่รับผิด ชอบ จำนวนเด็กกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับวัคซีน MR เด็กกลุ่มเป้าหมายในจังหวัด เด็กกลุ่มเป้า หมายนอกจังหวัด เด็กต่าง ชาติ ผลการให้วัคซีน เด็กกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่ เด็กกลุ่มเป้า หมายนอกพื้นที่ ได้รับในพื้นที่ ได้รับจากที่อื่น ความครอบคลุม (%) (1) (2) (3) (4) (5) (6) (7) (8) รวม เอกสารหมายเลข 5 ในแนวทางการให้วัคซีน MR เข็มที่ 2

25 เอกสารหมายเลข 6 ในแนวทางการให้วัคซีน MR เข็มที่ 2
ในเด็กกลุ่มเป้าหมายที่เกิดระหว่างวันที่ 1 มิถุนายน 2551 ถึง วันที่ 31 มกราคม 2555 จังหวัด อำเภอ จำนวนเด็กกลุ่มเป้าหมายที่มีอยู่จริงในพื้นที่รับผิดชอบ จำนวนเด็กกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับวัคซีน MR เด็กกลุ่มเป้าหมายในจังหวัด เด็กกลุ่มเป้าหมาย นอกจังหวัด เด็กต่าง ชาติ ผลการให้วัคซีน เด็กกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่ เด็กกลุ่มเป้าหมายนอกพื้นที่ ได้รับในพื้นที่ ได้รับจากที่อื่น ความครอบคลม (%) (1) (2) (3) (4) (5) (6) (7) (8) รวม เอกสารหมายเลข 6 ในแนวทางการให้วัคซีน MR เข็มที่ 2

26 กำหนดการส่งรายงานความก้าวหน้า
สถานบริการ จำนวนเด็กที่ให้บริการ ทั้งในและนอกเขตรับผิดชอบ สสอ. จำนวนเด็กที่ให้บริการ ทั้งในและนอกเขตรับผิดชอบ ทุก 2 สัปดาห์ (w2,w4) ในช่วง พ.ค. - ก.ย. 58 สสจ. จำนวนเด็กที่ให้บริการ ทั้งในและนอกเขตรับผิดชอบ สำนักงานเขตบริการสุขภาพ

27 กำหนดการส่งรายงานเมื่อสิ้นสุดการให้วัคซีน
สถานบริการ แบบ MR2 สสอ. 10 ต.ค. 58 แบบ MR3 สสจ. 15 ต.ค. 58 แบบ MR4 สคร.ผ่านเขตบริการสุขภาพ/สำนักต. 20 ต.ค. 58

28 วัคซีนที่มีส่วนผสมของหัด
Measles (M) - ไม่แนะนำในประเทศไทย เนื่องจากเด็กทุกคนจำเป็นต้องได้รับ Rubella vaccine ด้วย Measles-Rubella (MR) - ใช้กรณีหา MMR ไม่ได้ Measles-Mumps-Rubella (MMR) - ดีที่สุด ตามสิทธิเด็กไทย Measles-Mumps-Rubella-Vericella (MMR-V) ใช้ในภาคเอกชน ราคาแพง

29 สถานการณ์วัคซีน MMR ที่ควรรู้
EPI อนุญาตให้ใช้เฉพาะ MMR ที่ผลิตจาก คางทูมสายพันธุ์ Urabe และ Jeryl lynn ยิ่งทำให้หาวัคซีนยากขึ้น (ไม่อนุญาตให้ใช้สายพันธุ์ L-Zagreb เนื่องจากพบว่ามี side effect สูงกว่า) ปัจจุบัน สายพันธุ์ Urabe ที่เคยใช้ในเด็ก ป.1 บริษัทเลิกผลิต ยิ่งทำให้การจัดหามีปัญหามากขึ้น (ปี2557 ป.1 จึงใช้ MR) อย่านำ MMR ของเด็กเล็กไปให้นักเรียน มิฉะนั้นจะเกิด MMR ขาดช่วง (ปลายปี 2557) เหมือนเมื่อปีที่ผ่านมา

30 MR (multiple dose) MMR (single dose) (MSD) MMR (single dose) Priorix
3 – 6 ปี และ นักเรียน MMR (single dose) (MSD) เด็ก 9-12 เดือน และ 2.5 ปี MMR (single dose) Priorix เด็ก 9-12 เดือน และ 2.5 ปี

31 รหัสที่ใช้บันทึก (มาตรฐาน สนย.) ชื่อวัคซีนภาษาอังกฤษ
การบันทึกรหัสวัคซีน ปี 1. ปรับการให้วัคซีนรวมหัด-คางทูม-หัดเยอรมันในเด็กนักเรียนชั้น ป.1 เปลี่ยนเป็นให้ในเด็กอายุ 2 ปีครึ่ง (073) 2. วัคซีน MR ที่ให้บริการในนักเรียน ป.1 ให้บันทึกรหัสเดิม (072) 3. รณรงค์ให้วัคซีนคอตีบ-บาดทะยัก ในกลุ่มผู้ใหญ่อายุ ปี (901) รหัสที่ใช้บันทึก (มาตรฐาน สนย.) ชื่อวัคซีนภาษาอังกฤษ ชื่อวัคซีนภาษาไทย ประเภท อายุ 073 MMR 2 หัด คางทูม หัดเยอรมัน ฉีด 2 ปี 6 เดือน 072 MMRs ป.1 901 dTC ดีทีซี สำหรับการรณรงค์

32 คอตีบ 32

33 สถานการณ์การระบาดของโรคคอตีบ จังหวัดเลย และเพชรบูรณ์

34 เหตุการณ์ที่เกี่ยวข้อง
พฤษภาคม สสจ. หนองคาย รับแจ้งจาก รพ. เอกชน พบผู้ป่วยชาวลาวสงสัยคอตีบ เวียงจันทน์ ขออนุเคราะห์ diphtheria anti-toxin จำนวน 3 doses กรกฏาคม 2555 รพ.ชุมชน แห่งหนึ่ง จ.เพชรบูรณ์ ติดต่อขอรับ diphtheria anti-toxin 1 dose ตั้งแต่เดือนกรกฎาคม รพ.ชุมชน แห่งหนึ่ง จ.เลย พบผู้ป่วยคอตีบในกลุ่มผู้ใหญ่จำนวนมาก (รายแรก 26 มิ.ย. 55) เลย ถึง วันที่ 25 ต.ค พบผู้ป่วย 88 ราย เสียชีวิต 2ราย

35

36 โครงการรณรงค์ให้วัคซีนป้องกันโรคคอตีบ และหัด เฉลิมพระเกียรติสมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในโอกาสฉลองพระชนมายุ 5 รอบ 2 เมษายน 2558 รณรงค์ให้วัคซีนป้องกัน โรคคอตีบในผู้ใหญ่ อายุ ปี ทั่วประเทศ (dT) ให้วัคซีนป้องกันโรคหัด ในเด็ก อายุ 2 ½ - 7 ปี (MR : พค.-กย. 58) รณรงค์ให้วัคซีนโปลิโอ ในจังหวัดชายแดน ภาคใต้ สำรวจการได้รับวัคซีน ในกลุ่มเสี่ยงและเร่งรัด เพิ่มความครอบคลุม ในกลุ่มที่มีปัญหา สร้างความเข้มแข็งอย่างยั่งยืนของระบบงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคของประเทศไทย

37 ให้วัคซีน dT แก่ประชากรกลุ่มอายุ 20 - 50 ปี ในพื้นที่ภาคกลาง
โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อถ่ายทอดแนวทางการรณรงค์ ให้วัคซีน dT แก่ประชากรกลุ่มอายุ ปี ในพื้นที่ภาคกลาง

38 อัตราป่วยโรคคอตีบและความครอบคลุมของ การได้รับวัคซีนคอตีบครบ 3 ครั้ง
ในเด็กอายุครบ 1 ปี : ประเทศไทย พ.ศ อัตราป่วยต่อประชากรแสนคน ร้อยละ แหล่งที่มา : สำนักระบาดวิทยาและสำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค อัตราป่วย ความครอบคลุม

39 จำนวนและร้อยละของผู้ป่วยยืนยันและเข้าข่ายโรคคอตีบ ในพื้นที่ที่มีการระบาด จำแนกตามกลุ่มอายุ ปี 2555
กลุ่มอายุ (ปี) จำนวน ( N=48) ร้อยละ 0-5 5 10.4 6-15 16 33.3 16-25 26 ปีขึ้นไป 22 45.8 รวม 48 100 ที่มา : สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค

40 ผู้ป่วยยืนยันโรคคอตีบปี 2556
จังหวัด ป่วย เสียชีวิต อายุ เดือนที่ป่วย ปัตตานี 3 2 < 15 ปี ม.ค.-ส.ค. สงขลา 4 ม.ค.-ก.ค. นราธิวาส 1 ก.พ.-พ.ค. ตาก มิ.ย. ยโสธร > 15 ปี มิ.ย.-ก.ย. อุดรธานี ก.ค.-ส.ค. กทม. ส.ค. , ธ.ค. สตูล ก.ย. เชียงใหม่ ยะลา ต.ค. รวม 21 7 ข้อมูล ณ วันที่ 21 ม.ค. 57

41 ความเสี่ยงในการระบาดของโรคคอตีบในประเทศไทย
ผู้ป่วยโรคคอตีบชาวลาวข้ามฝั่งมารักษา ที่ประเทศไทยหลายราย เช่นที่เชียงของ (จังหวัดเชียงราย) ท่าลี่ (จังหวัดเลย) การระบาดในลาวยังมีอยู่ต่อเนื่อง สปป.ลาว สหภาพพม่า ขอรับการสนับสนุน DAT จากไทย ช่องว่างภูมิต้านทานโรค กลุ่มผู้ใหญ่ที่เกิดก่อนหรือ เกิดในช่วงต้นของ EPI เด็กที่ไม่ได้รับวัคซีนหรือได้รับไม่ครบ พื้นที่ต่างๆที่เสี่ยง Herd immunity ของ Diphtheria = 85 %

42 ต่อโรคคอตีบในประชากรกลุ่มอายุต่าง ๆ
สภาวะระดับภูมิคุ้มกัน ต่อโรคคอตีบในประชากรกลุ่มอายุต่าง ๆ

43 2006

44 2002

45 การศึกษา “ภูมิคุ้มกันโรคคอตีบในกลุ่มอายุ ปี ในจังหวัดหนองคายปี 2540” วันชัย สัตยาวุฒิพงศ์ วีระ ระวีกุล ละมัย ภูริบัญชา และคณะ วัคซีน DTP และ dT ให้มาแล้ว ปี ซึ่งเด็กกลุ่มนี้ อยู่ในช่วงที่ได้รับวัคซีนมาบ้าง? แต่ความครอบคลุมยังไม่สูง (DTP3 <90%) (Protected Immunity) ร้อยละ อายุ (ปี)

46 พรศักดิ์ อยู่เจริญ และคณะ
การศึกษา “สภาวะของระดับภูมิคุ้มกันต่อโรคคอตีบของประชากร อำเภอหว้านใหญ่ จังหวัดมุกดาหาร 2540” (447 ราย) พรศักดิ์ อยู่เจริญ และคณะ (Protected Immunity) ร้อยละ กลุ่มอายุ (ปี)

47 ภูมิต้านทานโรคคอตีบ (ร้อยละ)
กราฟแสดงร้อยละของระดับภูมิต้านทานโรคคอตีบในประชากรจังหวัดเลย อ.วังสะพุง และ อ.ด้านซ้าย ที่เกิดการระบาดปี 2555 จำนวน 213 ราย Titer < 0.1 IU/ml ระดับภูมิต้านทานที่ไม่สามารถป้องกันโรคคอตีบได้ ภูมิต้านทานโรคคอตีบ (ร้อยละ) กลุ่มอายุ (ปี)

48 ภูมิต้านทานโรคคอตีบ (ร้อยละ)
กราฟแสดงร้อยละของระดับภูมิต้านทานโรคคอตีบ ในเจ้าหน้าที่อายุมากกว่า 20 ปี จำนวน 57 ราย (สคร.1), 2555 ภูมิต้านทานโรคคอตีบ (ร้อยละ) ระดับภูมิต้านทาน

49 ข้อสังเกต... จากผลการศึกษา
รัสเซียเกิดการระบาดใหญ่ของโรคคอตีบ ในช่วงปี ภายหลังจากมีการแยกประเทศ ประมาณปี 1989 และมีผู้ป่วยสูงสุดในปี ซึ่งพบว่าผู้ป่วยส่วนใหญ่เป็นผู้ใหญ่ (68%) [ไทยพบเป็นผู้ใหญ่ร้อยละ 46.67] การระบาดใหญ่ของโรคคอตีบในรัสเซีย คิดเป็นระยะเวลาหลังจากเริ่มให้วัคซีนมาประมาณ 30+ ปี (เริ่มให้วัคซีนปลายทศวรรษ1950) สำหรับไทย เริ่มมีการระบาดโรคคอตีบในผู้ใหญ่ ปี 2555 หลังจากให้บริการวัคซีนในประชาชนประมาณ 35 ปี เริ่มให้วัคซีนป้องกันโรคคอตีบ ปี 2520 ในช่วงเวลาประมาณ 10 ปี พบว่าระดับของภูมิต้านทานโรคคอตีบ จะมีอัตราการลดลงประมาณร้อยละ 10 (เฉลี่ยลดลงร้อยละ 1 ต่อปี) ซึ่งคาดว่าระดับภูมิคุ้มกันน่าจะลดลงอย่างน้อยประมาณร้อยละ เมื่อเทียบกับความครอบคลุมร้อยละ 90 ส่งผลให้สัดส่วนของผู้มีภูมิต้านทานโรคคอตีบได้ประมาณร้อยละ และมีโอกาสที่จะเกิดการระบาดของโรคได้

50 การศึกษาระดับภูมิต้านทานโรคคอตีบ ในพื้นที่รณรงค์ให้วัคซีนเสริม เพื่อควบคุมการระบาดของโรค ภายหลังได้รับวัคซีน dT แล้ว จำนวน 1 เข็ม และ 2 เข็ม

51 ภูมิต้านทานโรคคอตีบ (ร้อยละ)
กราฟแสดงร้อยละของระดับภูมิต้านทานโรคคอตีบ ในประชากร จ.หนองบัวลำภู หลังได้รับวัคซีน dT 1 เข็ม 2555 (200 ราย) ภูมิต้านทานโรคคอตีบ (ร้อยละ) กลุ่มอายุ (ปี)

52 ภูมิต้านทานโรคคอตีบ (ร้อยละ)
กราฟแสดงร้อยละของระดับภูมิต้านทานโรคคอตีบ ในประชากร จ.หนองบัวลำภู หลังได้รับวัคซีน dT 2 เข็ม 2555 (180 ราย) ภูมิต้านทานโรคคอตีบ (ร้อยละ) กลุ่มอายุ (ปี)

53 คณะอนุกรรมการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
ผลการประชุม คณะอนุกรรมการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค เมื่อ 28 มกราคม 2556 มีมติ...... กลุ่มเป้าหมาย : ผู้ใหญ่กลุ่มอายุ ปี 2. กำหนดให้รณรงค์ใช้วัคซีน dT จำนวน 1 ครั้ง 3. การรณรงค์ฯ ให้เน้นในพื้นที่ที่เสี่ยง 53 53

54 Diphtheria Reported Cases in SEA countries, 2010-2013
Country 2013 2012 2011 2010 Nepal 103 138 94 146 Bangladesh 2 16 11 27 Myanmar 38 19 7 4 Thailand 28 63 77 Laos 20 130 34 Cambodia 3 Viet Nam 12 13 6 Malaysia Indonesia 775 1192 806 432 Source: WHO (Data as 2014/July/8)

55 Reported cases of diphtheria, 2000 and 2007-2012
Country 2012 2011 2010 2009 2008 2007 2000 India 2,525 3,485 3,123 3,529 3,977 3,812 5,125 Nepal 138 94 146 277 149 44 268 Bangladesh 16 11 27 23 43 86 21 Myanmar 19 7 4 3 5 17 Thailand 63 29 65 12 8 15 Laos 130 34 2 Cambodia Malaysia 1 Indonesia 1,192 806 432 189 219 183 Viet Nam 13 6 32 113 Philippines 107 118 39 88 Pakistan 98 22 37 Source: WHO (Update of 2013/July/13)

56 แนวทางการรณรงค์ให้วัคซีน dT ในภาคเหนือ ภาคกลาง ภาคใต้
กลุ่มโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค

57 1. กำหนดการรณรงค์ เป้าหมายโครงการ และประชากรกลุ่มเป้าหมาย
กำหนดช่วงเวลาการรณรงค์ วันที่ 1 มกราคม ถึง 30 เมษายน 2558 โดย 2 เดือนแรกเป็นช่วงที่มีการรณรงค์แบบเข้มข้นในเชิงรุก และ 2 เดือนหลังเป็นช่วงเก็บตก

58 ๑. กำหนดการรณรงค์ เป้าหมายโครงการ และประชากรกลุ่มเป้าหมาย
X เป้าหมายของโครงการ Coverage > 85 % (ในระดับตำบล) ในประชากรอายุ ๒๐ ถึง ๕๐ ปี (ผู้ที่เกิดระหว่างมกราคม ๒๕๐๗ ถึง ธันวาคม ๒๕๓๗) วิธีการคำนวณ ตัวตั้ง ใช้จำนวนประชาชนที่ได้รับวัคซีนตามกลุ่มเป้าหมายที่ระบุไว้ตามทะเบียนสำรวจ* (โดยไม่ต้องถามประวัติการได้รับวัคซีน) ตัวหาร : ตามทะเบียนสำรวจ *ในการนี้ไม่นับรวมประชาชนที่ได้รับ dT ที่ใช้ทดแทน TT, ไม่นับรวมหญิงตั้งครรภ์ และคนที่เคยได้วัคซีนช่วงที่มีการระบาด ที่ได้รับวัคซีนตั้งแต่ ๒ เข็มขึ้นไป/หรือ ได้รับ ๑ เข็มมาในระยะเวลา ๑ ปี

59 1. กำหนดการรณรงค์ เป้าหมายโครงการ และประชากรกลุ่มเป้าหมาย
เป้าหมายของโครงการ Coverage > 85 % (ในระดับตำบล) ในประชากรอายุ 20 ถึง 50 ปี (ผู้ที่เกิดระหว่างมกราคม 2508 ถึง ธันวาคม 2538) วิธีการคำนวณ ตัวตั้ง ใช้จำนวนประชาชนที่ได้รับวัคซีนตามกลุ่มเป้าหมายที่ระบุไว้ ตามทะเบียนสำรวจ (โดยไม่ต้องถามประวัติการได้รับวัคซีน) ตัวหารตามทะเบียนสำรวจ ไม่นับรวมหญิงตั้งครรภ์

60 เมื่อพบผู้ป่วย AEFI ให้รายงาน ตามระบบปกติเหมือนเดิม ทุกประการ

61

62


ดาวน์โหลด ppt X ให้วัคซีนป้องกันโรคหัด ในเด็ก อายุ 2 ½ - 7 ปี (MR : พค.-กย. 58)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google