งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ความสัมพันธ์ของยุคสมัยทางประวัติศาสตร์สากลและไทย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ความสัมพันธ์ของยุคสมัยทางประวัติศาสตร์สากลและไทย"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ความสัมพันธ์ของยุคสมัยทางประวัติศาสตร์สากลและไทย

2 ความสัมพันธ์ของยุคทางประวัติศาสตร์สากล
พัฒนาการของมนุษยชาติ มนุษย์รุ่นแรก : โฮโมซาเปียนส์ อาศัยในทวีปแอฟริกา การเริ่มต้นของเกษตร ใช้เครื่องมือที่ต่างจากการล่าสัตว์คือ “ขวาน” สรุป : การเกษตรทำให้คนตั้งที่อยู่เป็นหลักแหล่ง ไม่เร่ร่อน เกิดการรวมตัวเป็นชุมชน (เกิดรูปแบบการปกครอง มีผู้นำ) ประดิษฐ์สิ่งของเครื่องใช้ , สร้างที่อยู่ถาวร

3 ความสัมพันธ์ของยุคทางประวัติศาสตร์สากล
กำเนิดอารยธรรม - พัฒนาการก่อนหน้าอารยธรรมเมืองคือ “การแลกเปลี่ยนสินค้า , สู้รบระหว่างหมู่บ้าน” - การสู้รบทำให้การผลิตอาวุธก้าวหน้าขึ้น - ชนชั้นปกครองเริ่มแรกมากจากนักรบ และ ตามด้วยนักบวช

4 ความสัมพันธ์ของยุคทางประวัติศาสตร์สากล
อารยธรรมของโลกตะวันตก หมายถึง ดินแดนแถบตะวันตกของทวีปเอเชีย รวม เอเชียไมเนอร์ และทวีปแอฟริกา ผลงานทางภูมิปัญญาแยกตามแหล่งที่เกิดได้ดังนี้

5 ความสัมพันธ์ของยุคทางประวัติศาสตร์สากล
สมัยโบราณ อารยธรรมลุ่มน้ำไทกรีส-ยูเฟรติส และเอเชียไมเนอร์ เริ่มด้วยชนชาติสุเมรียนประดิษฐ์ อักษรลืม (Cunet forms) เป็นจุดกำเนิดอักษรครั้งแรกของโลก และสถาปัตยกรรม ซักกูเร็ต การประดิษฐ์คันไถ ใช้ ไถนา ชนชาติอะมอไรท์แห่งอาณาจักรบาบิโลเนีย ได้ประมวลกฎหมาย ขึ้นเป็นครั้งแรกคือ ประมวล กฎหมาย “ฮัมบูราบี” ชนชาติแอสซิเรียนสร้างภาพสลักนูน และ ชนชาติเปอร์เซีย เป็นต้นแบบการสร้าง ถนนมาตรฐาน

6 ความสัมพันธ์ของยุคทางประวัติศาสตร์สากล
อารยธรรมลุ่มน้ำไนล์ เป็นการสร้างสรรค์อารยธรรมของชาวอียิปต์โบราณ อักษรภาพ “เฮียโรกลฟฟิค” ถือว่าเป็นหลักฐานข้อมูลที่ชาวอียิปต์มีมากกว่าหลักฐานข้อมูลของแหล่ง อารยธรรมอื่น ๆ “พิรามิด” ครูสานเก็บพระศพของฟาโรห์ ซึ่งใช้น้ำยาอาบศพในรูปของมัมมี่ คือผลงานสถาปัตยกรรม ที่ชาวโลก รู้จักกันดี ประติมากรรมรูปคนตัวเป็นสิงห์หมอบเฝ้าหน้า พิรามิด ถือว่าเป็นประติมากรรม ที่ยิ่งใหญ่

7 ความสัมพันธ์ของยุคทางประวัติศาสตร์สากล
อารยธรรมกรีก รู้จักกันในนามของอารยธรรมคลาสสิก สถาปัตยกรรมที่เด่นคือ วิหาร พาร์เธนอน ประติมากรรมที่เด่นที่สุดคือ รูปปั้นเทพซีอุส วรรณกรรมดีเด่นคือ อีเลียดและโอดิสต์ (I liad and Odyssay) ของโฮเมอร์

8 ความสัมพันธ์ของยุคทางประวัติศาสตร์สากล
อารยธรรมโรมัน เป็นอารยธรรมที่สืบเนื่องจากอารยธรรมกรีก เพราะชาวโรมันได้รวมอาณาจักร กรีกและนำอารยธรรมกรีกมาเป็นแบบแผนในการสร้างสรรค์ อารยธรรมของตน สถาปัตยกรรมที่เด่น ได้แก่ วิหารแพนเธนอน โคลอสเซียม โรมันฟอร์ม วรรณกรรมที่เด่นที่สุดคือ เรื่องอีเนียด (Aeneid) ของเวอร์จิล

9 ความสัมพันธ์ของยุคทางประวัติศาสตร์สากล
สมัยกลาง อยู่ในช่วง ค.ศ ผลงานที่เด่นของสมัยกลางมีดังนี้ อารยธรรมไบแซนไตน์ มีศูนย์กลางอยู่ที่กรุงคอนสแตนติโนเปิล ปัจจุบันคือเมืองฮิสตันบูล เมืองหลวงของประเทศตุรกี ผลงานเด่นด้านสถาปัตยกรรมคือ วิหารโบสถ์เซนต์โซเฟีย

10 ความสัมพันธ์ของยุคทางประวัติศาสตร์สากล
อารยธรรมของอิสลาม จักรพรรดิ์มุสลิมมีความเจริญรุ่งเรืองในแถบตะวันออกกลาง เพราะ อิทธิพล ของการนับถือพระจ้าพระองค์เดียว ชาวมุสลิมมาประดิษฐ์เลขอารบิคที่ใช้กัน ทั่วโลกในปัจจุบัน ผลงาน เด่นของอารยธรรมอิสลามที่มีต่อโลกคือ เรื่องการแพทย์ ซึ่งเป็นต้น ฉบับตำราแพทย์ปัจจุบัน โดยมหาวิทยาลัยเลอลาโนในประเทศสเปน เป็นมหาวิทยาลัยแพทย์ แห่งแรกของโลก นอกจากนี้ ชาวมุสลิมยังมีผลงานด้านฟิสิกส์และเป็นเค้าโครงทางวรรณคดี ยุโรปปัจจุบัน นักวิชาการทาง ประวัติศาสตร์ กล่าวว่า “อารยธรรมอิสลามเปรียบเสมือนสะพานเชื่อมอารยธรรมตะวันตกและ ตะวันออกให้ประสานกัน”

11 ความสัมพันธ์ของยุคทางประวัติศาสตร์สากล
สมัยใหม่ มีการฟื้นฟูศิลปวิทยาหรือที่เรียกว่า เรเนสซอง ประเทศอิตาลีเป็นศูนย์กลาง ด้านงาน ศิลปะ ศิลปินที่เด่น ได้แก่ ลีโอนาโด ดาวินซ์ ผลงานชิ้นสำคัญคือ จิตรกรรม “The Last Supper” และภาพ “Monalisa” ศิลปินเด่นคนอื่น ๆ ได้แก่ ไมเคิล แองเจลโล บอลติชิลี และ วิลเลียม เชคสเปียร์ กวีเด่นที่สุดจากผลงานสำคัญคือ โรเมโอและจูเลียต

12 ความสัมพันธ์ของยุคทางประวัติศาสตร์สากล
2. อารยธรรมของโลกตะวันออก ส่วนใหญ่มีรากฐานมาจากแหล่งอารยธรรมที่เก่าแก่ ของโลก คือ อินเดียและจีน

13 ความสัมพันธ์ของยุคทางประวัติศาสตร์สากล
อารยธรรมลุ่มน้ำสินธุ ชาวอารยันได้สร้างปรัชญาโบราณ เริ่มจากคัมภีร์พระเวทอันเป็น แม่แบบ ของปรัชญาเอเชีย โดยเฉพาะเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ วรรณกรรมที่สำคัญ ได้แก่ พระเวท อุปนิษัท มหากาพย์ มหาภารตะ มหากาพย์ รามายยะ ปุราณะ เป็นต้น กวีที่มีชื่อเสียง ที่สุดมี กาลิทาส จากงาน ศกุณตลา ชัยเทพ (กวีราช) จากผลงานเรื่อง คีตโควินท์ และ รพินทรนาถ สากูร กวีสมัยใหม่จาก วรรณกรรม เรื่อง “คีตาญชลี” ซึ่งได้รับรางวัลโนเวล สาขาวรรณคดี

14 ความสัมพันธ์ของยุคทางประวัติศาสตร์สากล
อารยธรรมลุ่มน้ำฮวงโห อารยธรรมจีนได้รับอิทธิพลของศาสนา เต๋าและขงจื้อ สถาปัตยกรรม ที่ยิ่งใหญ่ เป็นหนึ่งในสิ่งมหัศจรรย์ของโลกคือ “กำแพงเมืองจีน” กวีที่สำคัญคือ ซือหมาเจี๋ยน ผลงาน ที่สำคัญคือ การบันทึกประวัติศาสตร์และวรรณกรรมที่สำคัญคือ สามก๊ก และความรักในหอแดง

15 ความสัมพันธ์ของยุคทางประวัติศาสตร์ไทย
ยุคสมัยประวัติศาสตร์ไทย : แม่น้ำมีความสำคัญ ยุคหิน 3 ช่วง 1. ยุคหินเก่า อยู่ตามซอกเขา ถ้ำ ล่าสัตว์ ใช้เครื่องมือหินกะเทาะ - พบหลักฐานบริเวณต้นน้ำแควน้อย/ใหญ่ กาญจนบุรี

16 2. ยุคหินกลาง - ทอผ้า ,ปั้นภาชนะดินเผามีลวดลาย “เชือกทาบ” - พิธีกรรมเกี่ยวกับความตาย พบหลักฐานบริเวณ จ.แม่ฮ่องสอน , อ.ไทรโยค กาญจนบุรี

17 3. ยุคหินใหม่ - เริ่มทำการเพาะปลูก - พบภาพเขียนสีบนผนังถ้ำที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

18 ยุคประวัติศาสตร์ 1. แบ่งตามระบอบการปกครอง - ปิตาธิปไตย - สมบูรณายาสิทธิราชย์ : K.มีสถานภาพเป็นสมมติเทพเด่นในสมัยกรุศรีฯ - ประชาธิปไตย : ตั้งแต่ พ.ศ.2475 (24 มิ.ย. 2475)

19 2. แบ่งตามสมัยราชอาณาจักร - อาณาจักรโบราณ - อาณาจักรชนชาติไทย : ศ. ก
2. แบ่งตามสมัยราชอาณาจักร - อาณาจักรโบราณ - อาณาจักรชนชาติไทย : ศ.ก. – สุโขไทย 3. แบ่งตามราชวงศ์ - สุโขทัย : พระร่วง - อยุธยา : อู่ทอง ,สุพรรณภูมิ ,สุโขทัย* ,ปราสาททอง ,บ้านพลูหลวง - ธนบุรี : ธนบุรี - รัตนโกสินทร์ : จักรี (ยังคงอยู่)

20 ประเภทของหลักฐาน 1.เป็นลายลักษณ์อักษร 2.ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร

21 ลำดับความสำคัญของหลักฐานประวัติศาสตร์
หลักฐานชั้นต้น – บันทึกหรือคำบอกเล่าของผู้พบเห็นเหตุการณ์โดยตรง หลักฐานชั้นรอง – บันทึกโดยผู้ที่รู้จากผู้อื่นอีกทีหนึ่ง

22 การใช้หลักฐานประวัติศาสตร์ชาติไทย
1. จารึก : หลักฐานชั้นต้น - หมายถึง เอกสารที่เกี่ยวกับเรื่องราวต่างๆของมนุษย์และสังคม ทั้งแง่เศรษฐกิจ ,การเมือง - ปัญหา : คำในอดีตกับปัจจุบันมีความหมายต่างกัน จารึกลบเลือน , แตกหัก ,ข้อมูลบางส่วนหาย

23 2. ตำนาน : เรื่องนมนานที่เล่าสืยต่อกันมาก่อนที่จะมีการบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษร - ให้คุณค่าทางประวัติศาสตร์น้อย เพราะขาดหลักฐานอ้างอิงที่แน่นอน 3. พงศาวดาร : เรื่องราวเกี่ยวกับประเทศชาติ , K. สมัยอยุธยา – พระราชพงศาสดารฉบับหลวงประเสริฐ

24 ประวัติศาสตร์สมัยปัจจุบัน -ประเทศไทยเริ่มสมัยร. 4 ,ร
ประวัติศาสตร์สมัยปัจจุบัน -ประเทศไทยเริ่มสมัยร.4 ,ร.5 โดยรับอิทธิพลจากตะวันตก

25 จัดทำโดย นายจิรศักดิ์ แฉล้มวงษ์ เลขที่ 3 นายเจษฎา แสงรังษี เลขที่ 4
นายจิรศักดิ์ แฉล้มวงษ์ เลขที่ 3 นายเจษฎา แสงรังษี เลขที่ 4 นายไชยา ธีรวุฒิ เลขที่ 5 นายณัฐพล ศรีสวัสดิ์ เลขที่ 6 นายรชานนท์ หิรัญโญภาส เลขที่ 14 นายวีระชัย สารจันทร์ เลขที่ 17


ดาวน์โหลด ppt ความสัมพันธ์ของยุคสมัยทางประวัติศาสตร์สากลและไทย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google