งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ผู้ประกาศ พิธีกร.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ผู้ประกาศ พิธีกร."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ผู้ประกาศ พิธีกร

2 ความสำคัญของการใช้เสียงในวิชาชีพนิเทศศาสตร์
ผู้ประกาศข่าว พิธีกร นักจัดรายการวิทยุ พิธีกรงานพิธีต่างๆ หรือ พิธีกรส่งเสริมการตลาด นักอ่านสารคดี นักพากย์ นักแสดงละครวิทยุ ละครเวที ละครโทรทัศน์ ภาพยนตร์ นักร้อง ซึ่งล้วนแล้วแต่ต้องการใช้เสียงที่ถูกต้องและมีประสิทธิภาพ ทั้งด้านอักขรวิธี น้ำหนักเสียง ความดัง อัตราการเปล่งเสียง การใช้น้ำเสียงได้อย่างหลากหลาย

3 ความสำคัญของเสียงพูด
1.ช่วยสร้างความหมายให้กับคำศัพท์ โดยการเปล่งเสียงออกมา 2.แสดงความหมายด้วยโทน ความดัง อัตราการเปล่งเสียง เสียงสูง ต่ำ เบา ดัง 3.บุคลิกภาพ (น้ำเสียงช่วยบอกเพศ วัย)

4 มาตรฐานของเสียงที่มีประสิทธิภาพ
เสียงดัง ฟังชัด หรือเสียงดังฟังพอดี เสียงชวนฟัง เสียงลื่นไหล เสียงยืดหยุ่น ปรับได้ตามบริบท

5 ลักษณะของเสียงพูดที่ไม่มีคุณภาพในการสื่อสาร
พูดเสียงลอย พูดเสียงเบา แหบพร่า พูดไม่มีจังหวะจะโคน พูดรัว พูดยานคาง พูดเสียงขึ้นจมูก พูดเสียงแหบ

6 การออกเสียงให้ถูกต้องตามอักขรวิธี
เริ่มด้วยการบริหารกล้ามเนื้อใบหน้า: เคี้ยวเนื้อ หน้าเล็ก-ใหญ่ ขากรรไกร บริหารปาก : รัวริมฝีปาก ขยับปาก/อ้าปาก ขณะมีของในปาก รัวลิ้น ฝึกเปล่งเสียง ดังนี้ การเปล่งเสียงสระ ให้มีสมาธิกับรูปปาก จะช่วยให้พูดได้เร็วน่าฟังไม่รัว เช่น อา เอ อี โอ อู (ออกเสียงยาวๆ) เสียงพยัญชนะภาษาไทย 1.เสียงกักหรือเสียงระเบิด บ ป พ (ริมฝีปากบนและล่าง) ด ต ท (ปลายลิ้นหรือลิ้นส่วนหน้ากับปุ่มเหงือก) ก ค (ลิ้นส่วนหลังและเพดานอ่อน) อ (เส้นเสียง)

7 เสียงพยัญชนะภาษาไทย (ต่อ)
2.เสียงเสียดแทรก ฟ (ริมฝีปากล่างและฟันบน) ส (ปลายลิ้นหรือลิ้นส่วน หน้ากับปุ่มเหงือก ฮ (เส้นเสียง) 3.เสียงกึ่งเสียดแทรก จ ช (ลิ้นส่วนหน้าและเพดานแข็งส่วนหน้า) 4.เสียงนาสิก ม (ริมฝีปากบนและล่าง) น (ปลายลิ้นหรือลิ้นส่วนหน้ากับ ปุ่มเหงือก) ง (ลิ้นส่วนหลังและเพดานอ่อน) 5.เสียงข้างลิ้น ล (ปลายลิ้นหรือลิ้นส่วนหน้ากับปุ่มเหงือก) 6.เสียงรัว ร (ปลายลิ้นหรือลิ้นส่วนหน้ากับปุ่มเหงือก) 7.เสียงกึ่งสระ ว (ริมฝีปากบนและล่าง) ย (กลางลิ้นและเพดานแข็ง

8 ปัญหาในการออกเสียงพยัญชนะบางตัว
เสียง “คว” เป็นเสียง “ฟ” และเสียง “ขว” เป็นเสียง “ฝ” เสียง “ร” และ “ล” เสียง “ส” เสียงเสียดแทรก “ท ช จ” (ที่ใช้ลมและรูปปากมากเกินไป จนกลายเป็นเสียงพยัญชนะในภาษาอังกฤษ) สาวสวยใส่ส้นสูงเสื้อสีส้มสร้อยสีแสดสองเส้น ทำไมทองแท่งถึงท้าทายธารทองทุกที แกมันชักช้า ชาติชั่ว เชือนแช ไม่น่าชื่นชมเลย จุ๊บแจงใจจืดจริงๆ จดๆ จ้องๆ แล้วจากไป

9 การปรับปรุงคุณภาพเสียง
การควบคุมความดังของเสียง การควบคุมอัตราการพูด ระดับสูงต่ำและคุณภาพของเสียง (สังเกตอารมณ์ ความรู้สึก ของสิ่งที่อ่านตีความโดยดูองค์ประกอบทางด้านโครงสร้างและประสบการณ์ประกอบ -เสียงสูงอาจใช้ในกรณีตั้งคำถาม แปลกใจ ตกใจ -เสียงต่ำมักใช้แสดงอารมณ์เชื่อมั่น หรือใช้ให้สัญญาณว่าจะหยุดพูด

10 คุณภาพเสียงและความถูกต้องในการออกเสียง
การตู่คำ คือการเปลี่ยนแปลงคำ เช่น เปลี่ยนแปร เป็น เปลี่ยนแปลง การตกคำ คือการพูดไม่ครบคำ เช่น ไม่มีสีดีๆ เป็น ไม่มีสี การเติมคำ องค์ประธาน อ่านเป็น องค์พระประธาน การตู่ความ ขอพระราชทานโอกาส-ขอพระบรมราโชวาท การอ่านตกความ เป็นพืชทดแทนเพื่อไม่ให้ชาวเขาปลูกฝิ่น อ่านเป็น เป็นพืชทดแทนเพื่อให้ชาวเขาปลูกฝิ่น การอ่านเติมความ ได้กำหนดวันประชุม-ซึ่งมิได้กำหนดวันประชุม การเว้นวรรคผิด ห้ามพนักงานนุ่งกางเกงใน/ขณะทำงาน การแยกคำผิด ตากลม

11 ออกเสียง ร ล และคำควบกล้ำ
ออกเสียง ร ล และคำควบกล้ำ

12 ออกเสียงเป็นประโยค

13 การใช้น้ำเสียง น้ำเสียงกลาง น้ำเสียงนุ่มนวล น้ำเสียงจริงจัง

14 น้ำเสียงกลาง ผู้พูดจะออกเสียงปกติ ไม่แสดงอารมณ์ ระดับความดัง และความเร็วสม่ำเสมอ มีการกำหนดจังหวะอย่างชัดเจน ซึ่งจังหวะดังกล่าวมักใช้การหยุด ผู้พูดจะใช้น้ำเสียงกลาง เมื่อต้องการบรรยาย หรืออธิบาย เช่น เรื่องเล่า ประวัติศาสตร์ การอธิบายวิธีการขั้นตอนต่าง ๆ การบรรยายสถานที่เป็นต้น

15 น้ำเสียงนุ่มนวล ผู้พูดอาจจะออกเสียงเบา แหบ หรืออาจจะสั่นเครือ มีการแสดงอารมณ์ ใช้อัตราการพูดช้า มีการเล่นเสียงดังค่อยสลับกันไป แต่ไม่ได้ทำเสียงหนักแน่น หรือกังวานมากเหมือนน้ำเสียงจริงจัง การกำหนดจังหวะจะอาศัยการทอดหางเสียงเมื่อจบข้อความ แล้วหยุดสักระยะ ผู้พูดจะใช้เสียงนุ่มนวล เมื่อต้องการแสดงอารมณ์ อาจเป็นอารมณ์เศร้า รัก ชอบ ประทับใจ ซาบซึ้ง ซึ่งขึ้นอยู่กับสารที่ต้องการส่ง

16 น้ำเสียงจริงจัง ผู้พูดจะออกเสียงหนักแน่น จริงจัง มีการใช้ระดับความดังและค่อยของเสียงคละกันไป แต่ถ้าต้องการแสดงอารมณ์โกรธอาจมีการออกเสียงแข็ง ดัง และไม่มีหางเสียง นอกจากนี้ยังมีการแบ่งวรรคตอนอย่างชัดเจนด้วยการลงน้ำหนักและการหยุด ผู้พูดจะใช้เสียงจริงจัง เมื่อต้องการแสดงอารมณ์จริงจัง หนักแน่น โกรธ หรือไม่พอใจ สารที่ต้องส่งอาจเป็นสารมุ่งปลุกใจ เชิญชวน แสดงคำสั่ง แสดงความโกรธ ความไม่พอใจ

17 หมวดอ่านคำวิสามานยนาม
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯสยามมกุฎราชกุมาร กันทรลักษ์ กันทรารมย์ จักราช(นครราชสีมา) แม่สรวย(เชียงราย) สรรพสิทธิประสงค์

18 ตัวอย่างการอ่านคำที่มักอ่านผิด
หมวดการอ่านคำทั่วไป กรกฎาคม กรรมาธิการ กลวิธี กามวิตถาร กาลเวลา กาลสมัย เกษตรศาสตร์ ขัดสมาธิ คณิตศาสตร์ คมนาคม คุณวุฒิ โฆษณา จรด เจตคติ ฉัตรมงคล ชนนี ดาษดา ดาษดื่น ปฐพี ปรกติ พระราชชนนี พิจารณา มหาวิทยาลัย เมรุ ยุคลบาท รูปธรรม วิตถาร วุฒิ สมดุล สมรรถนะ อุณหภูมิ โอวาทปาติโมกข์

19 คำที่มักใช้ผิด ขบวนการ กระบวนการ ภาพพจน์ ภาพลักษณ์
ขบวนการ กระบวนการ ภาพพจน์ ภาพลักษณ์ กำหนดการ หมายกำหนดการ สลาก ฉลาก ทัศนคติ เจตคติ มลพิษ มลภาวะ

20 การอ่านตัวเลขต่างๆ จำนวน1,000 10,000 100,000
จำนวน1, , ,000 ตัวเลขที่เป็นจุดทศนิยม , จำนวนร้อยละ ตัวเลขที่เป็นเงินหรือหน่วยนับ 3.70 บาท 8.65 ดอลลาร์ 4.58 เมตร การอ่านตัวเลขบอกเวลา น น. ร.ศ.112 (พ.ศ.2436) อ่านว่า รัด-ตะ-นะ-โก-สิน-สก ร้อยสิบสอง ตรงกับพุด-ทะ-สัก-กะ-หราด สองพันสี่ร้อยสามสิบหก อ่านบ้านเลขที่ 10, 313, 36/432, 765/21, 0468/1114 อ่านทะเบียนรถ ศส 1652, กต 5763, 5ง-2413,

21 แบบฝึกอ่านออกเสียง ทำความเข้าใจบท อักขระถูกต้อง ระดับเสียงเหมาะสม
แบ่งวรรค การหายใจ ฮุบอากาศ เสียงในช่องปาก อ่านด้วยความเข้าใจในความหมาย

22 คุณสมบัติพื้นฐานของการเป็นพิธีกรผู้ดำเนินรายการ
ความรู้รอบตัว คลังคำ ควรมีหนังสืออ่านอย่างไร-เขียนอย่างไรติดตัวไว้ อักขระ การใช้เสียง น้ำเสียง จังหวะ เน้นหนัก-เบา บุคลิกภาพ อวัจนภาษา การมองตา (eye contact)

23 ต้นแบบชีวิต แบบของการแสดงออกและการตอบสนองต่อสิ่งแวดล้อมที่คนเลียนแบบมาจากสิ่งต่างๆตั้งแต่วัยเด็กและติดตัวมาจนเป็นผู้ใหญ่ การที่คนพบเห็นสิ่งใดแล้วจดจำนำมาเป็นแบบอย่างของการแสดงออกในลักษณะต่างๆทั้งทางการพูด การแสดงบทบาท การกระทำ นิสัยใจคอ แนวความคิดหรือพฤติกรรมใดก็ตาม นั่นคือ ต้นแบบชีวิต Life Script

24 ต้นแบบชีวิต ต้นแบบชีวิตเกิดจากวัฒนธรรม ต้นแบบชีวิตเกิดจากครอบครัว
ต้นแบบชีวิตเกิดจากส่วนตัว

25 พิธีกร “พิธีกร” ในพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2525 ได้ให้ความหมายไว้ว่า พิธีกร หมายถึง ผู้ดำเนินการในพิธี , ผู้ดำเนินรายการ

26 สรุปประเภทของพิธีกร พิธีกร หรือ ผู้ดำเนินรายการ (Host/Master of Ceremony) ผู้ดำเนินการอภิปราย (Moderator) หมายเหตุ ปัจจุบันมี “พิธีกรข่าว”

27 บทบาทของพิธีกร เป็นผู้ดำเนินรายการตั้งแต่ต้นจนจบงาน หรือจบรายการตามขั้นตอนที่จัดเตรียมไว้ มีการกล่าวทักทาย เกริ่นนำ ประสานแต่ละช่วงตอนให้เกิดความกลมกลืนราบรื่น ครบถ้วน สรุปจบงานหรือรายการอย่างน่าประทับใจ รวมถึงการประสานสัมพันธ์กับแขกของบ้าน ซึ่งอาจหมายถึง ประธานในพิธี หรือแขกรับเชิญในรายการอีกด้วย

28 การปฏิบัติหน้าที่พิธีกร
               1) มีความสง่าผ่าเผย                2) เสียงดัง ชัดเจน นุ่มนวล และหนักแน่น                3) ใบหน้ายิ้มแย้มแจ่มใส                4) มีมารยาทในการใช้ถ้อยคำดี                5) รู้จักเลือกใช้ถ้อยคำ และเลือกเรื่องที่จะนำมาพูดได้อย่างเหมาะสม                6) ไม่ใช้ถ้อยคำจำเจและซ้ำซาก                7) นำเรื่องที่จะพูดให้น่าสนใจ                8) ให้เกียรติผู้รับเชิญ และแนะนำเรื่องที่จะพูดให้น่าสนใจ

29 ข้อควรคำนึงในการเป็นพิธีกร

30 รู้หลักการพูดในที่ชุมชน
อริสโตเติลถือเป็นบิดาแห่งวาทวิทยา โดยเขาเชื่อว่า การพูดจะสัมฤทธิ์ผลก็ต่อเมื่อผู้พูดเข้าใจธรรมชาติของผู้ฟัง และอริสโตเติลก็ได้วิเคราะห์ผู้ฟังว่าแต่ละช่วงวัยจะมีพื้นฐานอารมณ์ ความเชื่อ อุดมคติ และทัศนคติต่อโลกที่ต่างกัน เช่น คนหนุ่มสาวจะมีอารมณ์รุนแรง ชอบชัยชนะและเกียรติยศมากกว่าเงินทอง ส่วนคนแก่ก็จะไม่เห็นอะไรดี เห็นแก่ตัว กลัวไปหมดทุกอย่าง มีชีวิตอยู่ในความทรงจำเก่าๆ และวัยที่ดีที่สุดคืออายุ ปี จะเป็นวัยที่มีความเชื่อมั่น แต่ขณะเดียวกันก็มีความระมัดระวัง สามารถควบคุมตนเองได้ ตัดสินทุกอย่างด้วยข้อเท็จจริง

31 หลักอริสโตเติ้ล Ethos-โดยใช้ตัวบุคคล
- ผู้พูด Intelligence/Good Character - สังกัดหน่วยงาน/สถาบัน - ความเก่ง ความมีชื่อเสียง การรู้จักควบคุมตนเอง การถ่อมตน ไหวพริบ ความเป็นมิตร ความจริงใจ

32 หลักอริสโตเติล (ต่อ) Pathos-โดยใช้อารมณ์ หลักจิตวิทยา
- การลากเข้าพวก/ชาตินิยม/การเข้าหามวลชน/การเน้นความสำคัญเฉพาะบุคคล/การอ้างว่าเป็นพวกเดียวกัน/ความกลัว - การอำพรางบางส่วน/การอ้างชื่อสนับสนุน/การกล่าวเกินจริง/การใช้จิตวิทยาด้านภาษา เช่น คำขวัญ คำใหม่ สำนวน - ความรักตัวกลัวตาย/ความดึงดูดใจ (หน้าตา)/การได้ทรัพย์ สิ่งของ/ความนับถือตนเอง ความรื่นรมย์ส่วนตัว/ความอยากรู้อยากเห็น เลียนแบบ การคิดถึงผู้อื่น

33 หลักอริสโตเติล (ต่อ) Logos -โดยใช้เหตุผล หรือ ข้อเท็จจริง
- การใช้หลักฐาน ตรง-อ้อม/การยกตัวอย่าง/สถิติ/พยาน/การเปรียบเทียบ

34 ประเภทของการพูด การพูดแบบฉับพลัน การพูดแบบอ่านจากต้นฉบับ
การพูดจากการท่องจำ การพูดจากความเข้าใจหรือจากโครงร่าง

35 การเตรียมตัวพูด 1. กำหนดจุดมุ่งหมายในการนำเสนอให้ชัดเจน
2. วิเคราะห์ผู้ฟัง 3.เลือกรูปแบบและวิธีการนำเสนอให้เหมาะสม 4.รวบรวมข้อมูล ข้อเท็จจริงให้ครบถ้วน หาหลักฐานสนับสนุนที่ชัดเจน 5.วางโครงเรื่อง ลำดับสาร ลำดับความคิด คำนำ-เนื้อเรื่อง-สรุป 6.ฝึกซ้อม

36 การวิเคราะห์ผู้ฟัง ลักษณะทั่วไป
ขึ้นอยู่กับกลุ่มเป้าหมายและรูปแบบรายการ วัย/ อาชีพ/ เพศ/ การศึกษา/ ศาสนา/ สมาชิกกลุ่ม

37 มีทักษะในการจับประเด็น
อ่านทำความเข้าใจ เลือกเฉพาะประเด็นที่เหมาะสม เรียบเรียงใหม่ให้เข้าใจง่าย ด้วยถ้อยคำที่เหมาะสมกับกลุ่มผู้ชมผู้ฟัง การประมวลความคิด -ใคร ทำอะไร ที่ไหน เมื่อไร อย่างไร ทำไม -ข้อดี ข้อเสีย -แสดงตามขั้นตอน -อดีต ปัจจุบัน อนาคต -มีปัญหา สาเหตุ แก้ไข -เรียงตามหัวข้อ การเชื่อมประเด็น : เท่าที่กล่าวมาจะเห็นได้ว่า.../นอกจากนี้อีกเรื่องหนึ่งที่ควร พิจารณา.../เหตุผลอีกประการหนึ่งก็คือ.../เป็นต้นว่า.../เราก็ คงสรุปได้ว่า... ฯลฯ

38 แบบฝึกหัดการจับประเด็น

39 ต้องรู้ลำดับรายการ ผู้เป็นพิธีกรจะต้องไปถึงงานก่อนเวลา และต้องรู้ว่าลำดับรายการในงานที่ตนเองต้องเป็นพิธีกร ว่าอะไรอยู่ก่อน-หลัง เพื่อจะได้เตรียมตัวเปิดหัว เกริ่นนำ เชื่อมต่อรายการก่อนหลังได้อย่างดี แต่ก็มีพิธีกรหลายคนที่ประมาท คิดว่าตนเองพูดเก่ง เจนเวที บางครั้งมาเจองานที่ตนเองไม่เคยลองมาก่อน กะไปหวังน้ำบ่อหน้า หรือหวังจะด้นสดบนเวที สุดท้ายกลายเป็นว่าแทนที่จะได้แจ้งเกิดในฐานะพิธีกรฝีมือเยี่ยม กลับกลายเป็นการฌาปนกิจตนเองไปในงานครานั้นเลยก็มี ดังนั้น การทราบลำดับรายการก่อนจะทำให้เราสามารถคาดหมาย กะการ วางแผน หรือตระเตรียมความพร้อมได้อย่างรอบคอบรัดกุม

40 ต้องรู้รายละเอียดแต่ละรายการ
นอกจากการลำดับรายการ ผู้ที่ทำหน้าที่พิธีกรจะต้องรู้รายละเอียดของแต่ละรายการด้วยว่า เป็นรายการ เกี่ยวกับอะไร มีผู้ร่วมรายการกี่คน ชื่ออะไรบ้าง(หากจำเป็นต้องแนะนำ) ต้องใช้เครื่องมือเครื่องใช้อะไรในรายการบ้าง แต่ละรายการใช้เวลาเท่าไหร่ เป็นต้น เพื่อจะได้เตรียมความพร้อมไว้ก่อน หากจะกล่าวง่ายๆก็คือ พิธีกรที่ชำนาญจะต้อง “อ่านเกมแตก มองหมากทะลุปรุโปร่ง ไม่ใช่ตำข้าวสารกรอกหม้อ หากินไปวันวัน”4 4 วสันต์ พงศ์สุประดิษฐ์, เรื่องเดียวกัน , หน้า 213.

41 ต้องรู้จักผู้เกี่ยวข้องแต่ละรายการ
สิ่งสำคัญอีกประการหนึ่งที่ผู้ทำหน้าที่พิธีกรจะต้องให้ความสนใจเป็นพิเศษก็คือ พิธีกรจะต้อง รู้จักผู้ที่เกี่ยวข้องในงาน หรือ ผู้ที่รับผิดชอบในแต่ละรายการเพื่อจะได้ประสานงาน ตามงาน หรือแก้ไขปัญหาที่อาจเกิดขึ้นได้อย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะอย่างยิ่งหากมีพิธีกรย่อยเฉพาะแต่ละรายการเราจะได้ส่งลูกกันอย่างกลมกลืน หรืออาจจะมีการตกลงกันก่อนว่าใครจะเริ่มอย่างไร ใครจะลงอย่างไร ไม่ใช่ไม่ทราบอะไรเลย

42 ต้องรู้กาลเทศะ การรู้กาลเทศะ ถือเป็นทักษะและความรู้พื้นฐานอีกประการที่ต้องทราบด้วย เพราะพิธีกรจะต้องรู้ว่าอะไรควรอะไรไม่ควร ต้องรู้ว่าเมื่อไหร่ควรเล่น เมื่อไหร่ไม่ควรเล่น ไม่พูดเล่นหรือล้อเลียนจนเกินเหตุ ต้องมีความพอดี พอเหมาะ และ พอควร

43 ประวัติผู้ร่วมรายการ
พิธีกรควรมีประวัติของผู้ที่จะออกมาพูด หรือปฏิบัติเพื่อจะได้แนะนำผู้ฟังโดยเขียนใส่กระดาษไว้ดังนี้ ชื่อ นามสกุล ตำแหน่ง สถานที่ทำงาน ประวัติการศึกษา และอื่นๆที่ จำเป็นต้องบันทึกไว้

44 ข้อควรคำนึงในการแนะนำแขกรับเชิญ
ชื่อ ตำแหน่ง ถูกต้อง แม่นยำ การเลือกประวัติบางช่วงบางตอน อย่าเกินงาม บางอย่างต้องกันไว้ถามหรือให้เขาพูดเอง

45 แบบฝึกหัดการแนะนำแขกรับเชิญ

46 การปฏิบัติหน้าที่ผู้ดำเนินรายการ
คุณสมบัติของผู้ดำเนินรายการ                1) ต้องได้รับการฝึกพูดมาแล้วพอสมควร                2) มีความรอบรู้ระเบียบวิธีการพูดในที่ชุมนุมชน                3) เป็นที่เชื่อถือของบุคคลทั่วไป                4) เป็นผู้ยอมรับฟังความคิดเห็นของบุคคลอื่น                5) ไม่มีอคติ                6) มีมารยาทดีมีความอ่อนน้อมไม่ลุอำนาจต่อโทสะ                7) มีความอดทน รู้จักอดกลั้นต่อความรู้สึกต่างๆ                8) มีปฏิภาณดี สามารถแก้ไขปัญหาต่างๆ ได้อย่างถูกต้องและรวดเร็ว

47 การปฏิบัติหน้าที่พิธีกร
               1) มีความสง่าผ่าเผย                2) เสียงดัง ชัดเจน นุ่มนวล และหนักแน่น                3) ใบหน้ายิ้มแย้มแจ่มใส                4) มีมารยาทในการใช้ถ้อยคำดี                5) รู้จักเลือกใช้ถ้อยคำ และเลือกเรื่องที่จะนำมาพูดได้อย่างเหมาะสม                6) ไม่ใช้ถ้อยคำจำเจและซ้ำซาก                7) นำเรื่องที่จะพูดให้น่าสนใจ                8) ให้เกียรติผู้รับเชิญ และแนะนำเรื่องที่จะพูดให้น่าสนใจ

48 ข้อควรคำนึง 1. ต้องรู้หลักการพูดต่อที่ชุมชน
ผู้เป็นพิธีกรจะต้องรู้หลักและมีทักษะในการพูดต่อที่ชุมชนพอสมควร ทั้งในด้านการใช้ถ้อยคำ สำนวน เทคนิค ลูกเล่น การสร้างบรรยากาศ การสร้างอารมณ์ขัน การใช้เสียง การใช้สายตา การใช้ท่าทาง การปรากฏตัว การเดิน การยืน การนั่ง (กรณีเป็นผู้ดำเนินรายการที่ต้องเป็นการนั่งสนทนา) การเคลื่อนไหวร่างกายเมื่อต้องปรากฏตัวต่อหน้าผู้ฟังเป็นจำนวนมาก ต่างๆเหล่านี้พิธีกรจะต้องรู้และทำได้ดีอยู่ก่อนแล้ว

49 2. ต้องรู้ลำดับรายการ ผู้เป็นพิธีกรจะต้องไปถึงงานก่อนเวลา และต้องรู้ว่าลำดับรายการในงานที่ตนเองต้องเป็นพิธีกร ว่าอะไรอยู่ก่อน-หลัง เพื่อจะได้เตรียมตัวเปิดหัว เกริ่นนำ เชื่อมต่อรายการก่อนหลังได้อย่างดี แต่ก็มีพิธีกรหลายคนที่ประมาท คิดว่าตนเองพูดเก่ง เจนเวที บางครั้งมาเจองานที่ตนเองไม่เคยลองมาก่อน กะไปหวังน้ำบ่อหน้า หรือหวังจะด้นสดบนเวที สุดท้ายกลายเป็นว่าแทนที่จะได้แจ้งเกิดในฐานะพิธีกรฝีมือเยี่ยม กลับกลายเป็นการฌาปนกิจตนเองไปในงานครานั้นเลยก็มี ดังนั้น การทราบลำดับรายการก่อนจะทำให้เราสามารถคาดหมาย กะการ วางแผน หรือตระเตรียมความพร้อมได้อย่างรอบคอบรัดกุม

50 3. ต้องรู้รายละเอียดแต่ละรายการ
นอกจากการลำดับรายการ ผู้ที่ทำหน้าที่พิธีกรจะต้องรู้รายละเอียดของแต่ละรายการด้วยว่า เป็นรายการ เกี่ยวกับอะไร มีผู้ร่วมรายการกี่คน ชื่ออะไรบ้าง(หากจำเป็นต้องแนะนำ) ต้องใช้เครื่องมือเครื่องใช้อะไรในรายการบ้าง แต่ละรายการใช้เวลาเท่าไหร่ เป็นต้น เพื่อจะได้เตรียมความพร้อมไว้ก่อน หากจะ

51 4. ต้องรู้จักผู้เกี่ยวข้องแต่ละรายการ
สิ่งสำคัญอีกประการหนึ่งที่ผู้ทำหน้าที่พิธีกรจะต้องให้ความสนใจเป็นพิเศษก็คือ พิธีกรจะต้อง รู้จักผู้ที่เกี่ยวข้องในงาน หรือ ผู้ที่รับผิดชอบในแต่ละรายการเพื่อจะได้ประสานงาน ตามงาน หรือแก้ไขปัญหาที่อาจเกิดขึ้นได้อย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะอย่างยิ่งหากมีพิธีกรย่อยเฉพาะแต่ละรายการเราจะได้ส่งลูกกันอย่างกลมกลืน หรืออาจจะมีการตกลงกันก่อนว่าใครจะเริ่มอย่างไร ใครจะลงอย่างไร ไม่ใช่ไม่ทราบอะไรเลย

52 5. ต้องรู้กาลเทศะ การรู้กาลเทศะ ถือเป็นทักษะและความรู้พื้นฐานอีกประการที่ต้องทราบด้วย เพราะพิธีกรจะต้องรู้ว่าอะไรควรอะไรไม่ควร ต้องรู้ว่าเมื่อไหร่ควรเล่น เมื่อไหร่ไม่ควรเล่น ไม่พูดเล่นหรือล้อเลียนจนเกินเหตุ ต้องมีความพอดี พอเหมาะ และ พอควร

53 เทคนิคการเป็นพิธีกร มีอยู่ 8 ประการด้วยกันคือ
1. ต้องมีความพร้อมทั้งทางร่างกายและจิตใจ 2. ต้องทำการบ้านมาก่อนเป็นอย่างดี 3. ต้องมาถึงสถานที่จัดงานก่อนเวลาพอสมควร 4. ต้องสำรวจความพร้อมของเวที แสง สี เสียง ให้เรียบร้อยก่อนงานเริ่ม 5. ต้องเปิดรายการด้วยความกระตือรือร้น สดชื่น และกระปรี้กระเปร่า 6. ต้องดึงดูดความสนใจของผู้ชมให้มาสู่เวทีอยู่ตลอดเวลา และห้ามทิ้งเวทีเด็ดขาด 7. ต้องแก้ปัญหาและควบคุมสถานการณ์เฉพาะหน้าได้ดี 8. ดำเนินรายการตั้งแต่ต้นจนจบอย่างเรียบร้อยราบรื่น และบรรลุเป้าหมายที่วางไว้

54 การเป็นพิธีกรประเภทงานพิธีการ
การทักทายหรือการกล่าวคำปฏิสันถารในงานพิธีการ คำแรกที่ทักทายอาจจะใช้ “เรียน” หรือ “กราบเรียน” ทั้งนี้ “กราบเรียน” จะใช้เฉพาะกับผู้ที่มีตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ประธานรัฐสภา ประธานศาลฎีกา ประธานวุฒิสภา ฯลฯ นอกนั้นใช้แค่ “เรียน” ก็พอ ปกติจะกล่าวคำทักทายเพียงแค่สามตำแหน่งสำคัญ(ลำดับอาวุโส จากสูงไปหาต่ำ) และถ้าจะทักทายผู้ฟังทั้งกลุ่มอาจไม่ต้องมีคำว่าเรียนก็ได้

55 ลำดับการพูดของพิธีกรในงานพิธีการ
1.กล่าวทักทายผู้ฟัง (หากมีประธานจัดงานและประธานเปิดงาน ให้ทักทายก่อนและทักทายต่ออีก 2 ตำแหน่ง) ทั้งนี้การทักทายจะไม่ทักทายชื่อแต่จะทักทายตำแหน่งจากสูงไปหาต่ำ ประมาณ 3 ตำแหน่ง ตำแหน่งสุดท้ายจะเป็นตำแหน่งที่รวมคนทั้งหมด มักจะจบด้วย “และท่านผู้มีเกียรติทุกท่าน” ในการทักทายทุกครั้ง 2.กล่าวเกริ่นนำให้ที่ประชุมรู้ว่าเป็นงานอะไร มีวัตถุประสงค์ในการจัดอย่างไร เพื่ออะไร และบอกว่ามีกิจกรรมอะไรบ้างในงาน 3.เชิญผู้พูดหรือผู้ปฏิบัติมาพูดหรือมาปฏิบัติตามลำดับรายการที่จัดไว้ก่อนหลังที่เหมาะสม 4.เมื่อผู้มาพูดหรือมาปฏิบัติกล่าวจบหรือปฏิบัติเสร็จสิ้นจะต้องกล่าวขอบคุณ และกล่าวสรุปสั้นๆ เพื่อโยงไปสู่กิจกรรมอื่นๆต่อไป

56 ข้อควรคำนึงอื่นๆ สำนวน เทคนิค ลูกเล่น การสร้างบรรยากาศ การสร้างอารมณ์ขัน การใช้เสียง การใช้สายตา การใช้ท่าทาง การปรากฏตัว การเดิน การยืน การนั่ง (กรณีเป็นผู้ดำเนินรายการที่ต้องเป็นการนั่งสนทนา) การเคลื่อนไหวร่างกายเมื่อต้องปรากฏตัว การใช้คำแทนตัว การเฉลี่ยบทแก่พิธีกรคู่ ผู้ร่วมรายการ การแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า

57 ข้อควรคำนึงอื่นๆ (ต่อ)
ความรู้รอบตัว ชื่อเฉพาะ การ Phone – in อวัจนภาษา และสีหน้าท่าทาง ความเป็นธรรมชาติ ความจริงใจและเป็นตัวของตัวเอง การสร้างบรรยากาศในรายการ

58 ผู้ดำเนินการอภิปราย หน้าที่ของผู้ดำเนินการอภิปรายก่อนขึ้นเวที
1.ควรซักถามผู้จัดงานว่ามีใครมาร่วมประชุมสัมมนาบ้าง ขอประวัติย่อของผู้ร่วมอภิปราย พร้อมตำแหน่ง อาชีพ ความสามารถพิเศษจากผู้จัดงานหรือวิทยากรก่อนวันอภิปราย 2.เตรียมเขียนเกริ่นนำให้เข้ากับหัวข้อของการอภิปราย เตรียมข้อมูลจากวิทยากรที่จะใช้แนะนำในวันอภิปราย 3.ซ้อม แต่งกายให้เหมาะสม ไปถึงก่อนเวลาเพื่อสร้างความมั่นใจ 4.ตกลงกับผู้ร่วมอภิปรายล่วงหน้า ตกลงประเด็นและเวลา 5.เตรียมกระดาษปากกา เพื่อสรุป เมื่อขึ้นบนเวที มีสองแบบคือ ขึ้นพร้อมวิทยากร กับพิธีกรแนะนำผู้ดำเนินการอภิปรายคนเดียว แล้วจึงแนะนำวิทยากรต่อ

59 การปฏิบัติหน้าที่ผู้ดำเนินรายการ
คุณสมบัติของผู้ดำเนินรายการ        1) ต้องได้รับการฝึกพูดมาแล้วพอสมควร        2) มีความรอบรู้ระเบียบวิธีการพูดในที่ชุมนุมชน        3) เป็นที่เชื่อถือของบุคคลทั่วไป        4) เป็นผู้ยอมรับฟังความคิดเห็นของบุคคลอื่น        5) ไม่มีอคติ        6) มีมารยาทดีมีความอ่อนน้อมไม่โกรธง่าย        7) มีความอดทน รู้จักอดกลั้นต่อความรู้สึกต่างๆ        8) มีปฏิภาณดี สามารถแก้ไขปัญหาต่างๆ ได้อย่างถูกต้องและรวดเร็ว

60 การปฏิบัติหน้าที่พิธีกร
       1) มีความสง่าผ่าเผย        2) เสียงดัง ชัดเจน นุ่มนวล และหนักแน่น        3) ใบหน้ายิ้มแย้มแจ่มใส        4) มีมารยาทในการใช้ถ้อยคำดี        5) รู้จักเลือกใช้ถ้อยคำ และเลือกเรื่องที่จะนำมาพูดได้อย่างเหมาะสม        6) ไม่ใช้ถ้อยคำจำเจและซ้ำซาก        7) นำเรื่องที่จะพูดให้น่าสนใจ        8) ให้เกียรติผู้รับเชิญ และแนะนำเรื่องที่จะพูดให้น่าสนใจ

61 ข้อควรคำนึง 1. ต้องรู้หลักการพูดต่อที่ชุมชน
ผู้เป็นพิธีกรจะต้องรู้หลักและมีทักษะในการพูดต่อที่ชุมชนพอสมควร ทั้งในด้านการใช้ถ้อยคำ สำนวน เทคนิค ลูกเล่น การสร้างบรรยากาศ การสร้างอารมณ์ขัน การใช้เสียง การใช้สายตา การใช้ท่าทาง การปรากฏตัว การเดิน การยืน การนั่ง (กรณีเป็นผู้ดำเนินรายการที่ต้องเป็นการนั่งสนทนา) การเคลื่อนไหวร่างกายเมื่อต้องปรากฏตัวต่อหน้าผู้ฟังเป็นจำนวนมาก ต่างๆเหล่านี้พิธีกรจะต้องรู้และทำได้ดีอยู่ก่อนแล้ว

62 3. ต้องรู้รายละเอียดแต่ละรายการ
นอกจากการลำดับรายการ ผู้ที่ทำหน้าที่พิธีกรจะต้องรู้รายละเอียดของแต่ละรายการด้วยว่า เป็นรายการ เกี่ยวกับอะไร มีผู้ร่วมรายการกี่คน ชื่ออะไรบ้าง(หากจำเป็นต้องแนะนำ) ต้องใช้เครื่องมือเครื่องใช้อะไรในรายการบ้าง แต่ละรายการใช้เวลาเท่าไหร่ เป็นต้น เพื่อจะได้เตรียมความพร้อมไว้ก่อน หากจะ

63 การเป็นพิธีกรประเภทงานพิธีการ
การทักทายหรือการกล่าวคำปฏิสันถารในงานพิธีการ คำแรกที่ทักทายอาจจะใช้ “เรียน” หรือ “กราบเรียน” ทั้งนี้ “กราบเรียน” จะใช้เฉพาะกับผู้ที่มีตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ประธานรัฐสภา ประธานศาลฎีกา ประธานวุฒิสภา ฯลฯ นอกนั้นใช้แค่ “เรียน” ก็พอ ปกติจะกล่าวคำทักทายเพียงแค่สามตำแหน่งสำคัญ(ลำดับอาวุโส จากสูงไปหาต่ำ) และถ้าจะทักทายผู้ฟังทั้งกลุ่มอาจไม่ต้องมีคำว่าเรียนก็ได้

64 ลำดับการพูดของพิธีกรในงานพิธีการ
1.กล่าวทักทายผู้ฟัง (หากมีประธานจัดงานและประธานเปิดงาน ให้ทักทายก่อนและทักทายต่ออีก 2 ตำแหน่ง) ทั้งนี้การทักทายจะไม่ทักทายชื่อแต่จะทักทายตำแหน่งจากสูงไปหาต่ำ ประมาณ 3 ตำแหน่ง ตำแหน่งสุดท้ายจะเป็นตำแหน่งที่รวมคนทั้งหมด มักจะจบด้วย “และท่านผู้มีเกียรติทุกท่าน” ในการทักทายทุกครั้ง 2.กล่าวเกริ่นนำให้ที่ประชุมรู้ว่าเป็นงานอะไร มีวัตถุประสงค์ในการจัดอย่างไร เพื่ออะไร และบอกว่ามีกิจกรรมอะไรบ้างในงาน 3.เชิญผู้พูดหรือผู้ปฏิบัติมาพูดหรือมาปฏิบัติตามลำดับรายการที่จัดไว้ก่อนหลังที่เหมาะสม 4.เมื่อผู้มาพูดหรือมาปฏิบัติกล่าวจบหรือปฏิบัติเสร็จสิ้นจะต้องกล่าวขอบคุณ และกล่าวสรุปสั้นๆ เพื่อโยงไปสู่กิจกรรมอื่นๆต่อไป

65 ผู้ดำเนินการอภิปราย หน้าที่ของผู้ดำเนินการอภิปรายก่อนขึ้นเวที
1.ควรซักถามผู้จัดงานว่ามีใครมาร่วมประชุมสัมมนาบ้าง ขอประวัติย่อของผู้ร่วมอภิปราย พร้อมตำแหน่ง อาชีพ ความสามารถพิเศษจากผู้จัดงานหรือวิทยากรก่อนวันอภิปราย 2.เตรียมเขียนเกริ่นนำให้เข้ากับหัวข้อของการอภิปราย เตรียมข้อมูลจากวิทยากรที่จะใช้แนะนำในวันอภิปราย 3.ซ้อม แต่งกายให้เหมาะสม ไปถึงก่อนเวลาเพื่อสร้างความมั่นใจ 4.ตกลงกับผู้ร่วมอภิปรายล่วงหน้า ตกลงประเด็นและเวลา 5.เตรียมกระดาษปากกา เพื่อสรุป เมื่อขึ้นบนเวที มีสองแบบคือ ขึ้นพร้อมวิทยากร กับพิธีกรแนะนำผู้ดำเนินการอภิปรายคนเดียว แล้วจึงแนะนำวิทยากรต่อ

66 ทักษะการเป็นพิธีกรข่าว
การจับประเด็น การเรียบเรียงประเด็น การเล่าด้วยความเข้าใจ การใส่ความคิดเห็น (เป็นกลาง ใส่ให้น้อยที่สุด) การระมัดระวังการหมิ่นประมาท การละเมิดสิทธิ การบอกแหล่งข่าว

67 ผู้ดำเนินการอภิปราย หน้าที่ของผู้ดำเนินการอภิปรายก่อนขึ้นเวที
1.ควรซักถามผู้จัดงานว่ามีใครมาร่วมประชุมสัมมนาบ้าง ขอประวัติย่อของผู้ร่วมอภิปราย พร้อมตำแหน่ง อาชีพ ความสามารถพิเศษจากผู้จัดงานหรือวิทยากรก่อนวันอภิปราย 2.เตรียมเขียนเกริ่นนำให้เข้ากับหัวข้อของการอภิปราย เตรียมข้อมูลจากวิทยากรที่จะใช้แนะนำในวันอภิปราย 3.ซ้อม แต่งกายให้เหมาะสม ไปถึงก่อนเวลาเพื่อสร้างความมั่นใจ 4.ตกลงกับผู้ร่วมอภิปรายล่วงหน้า ตกลงประเด็นและเวลา 5.เตรียมกระดาษปากกา เพื่อสรุป เมื่อขึ้นบนเวที มีสองแบบคือ ขึ้นพร้อมวิทยากร กับพิธีกรแนะนำผู้ดำเนินการอภิปรายคนเดียว แล้วจึงแนะนำวิทยากรต่อ

68 เทคนิควิธีการเปิดประเด็น
1.การอ้างอิงประวัติศาสตร์ 2.การอ้างอิงตนเอง 3.การอ้างคำพูด 4.การบรรยายหรือพรรณนา 5.การอ้างอิงเวลา 6.การตั้งเป็นคำถาม 7.การกล่าวเปิดด้วยคำเยินยอ 8.การกล่าวเปิดด้วยสิ่งที่น่าขัน 9.การกล่าวเปิดเกี่ยวกับเรื่องนั้นโดยตรง

69 คุณสมบัติของผู้ดำเนินการอภิปราย
รอบรู้เรื่องที่จะอภิปราย เพื่อถาม เสริม สรุป ขยายความ รู้เกี่ยวกับวิทยากร คุยกับผู้ที่ต้องสัมภาษณ์ก่อน รู้จักเกริ่น เชื่อมประเด็นให้ต่อเนื่องกัน มีไหวพริบแก้ไขสถานการณ์ เป็นกลาง รักษาเวลา แก้ไขสถานการณ์ได้เมื่อมีการยืดเยื้อ เวลาไม่พอ หรือเวลาเหลือ กะเวลาให้ถูกว่าแต่ละคนจะให้พูดนานแค่ไหน เป็นตัวกลางในการเฉลี่ยบทบาทของผู้ร่วมอภิปรายได้เท่าเทียม เราเป็นตัวแทนของผู้ชม ควรวางตัวในระดับเดียวกับแขก

70 ลำดับการพูดของผู้ดำเนินการอภิปราย
กล่าวทักทายผู้ฟัง เชิญคณะวิทยากร เกริ่นนำหัวข้อ แนะนำผู้ร่วมอภิปราย เชิญวิทยากรแต่ละคนพูดตามลำดับเนื้อหา ความเหมาะสม เตือนวิทยากรที่พูดเกินด้วยการตัดบท ใช้เทคนิควิธีรักษาหน้า ขอบคุณวิทยากรหลังการพูดของแต่ละคน ก่อนจะโยงเนื้อหาให้วิทยากรคนต่อไปได้พูดตามลำดับทุกครั้ง

71 การตั้งคำถามอภิปรายหรือสัมภาษณ์
รูปแบบการตั้งคำถาม คำถามเปิด คำถามปิด คำถามหยั่ง คำถามทวน คำถามนำ

72 หลักการทำพิธีกรคู่ คิว และการเฉลี่ยบท สไตล์ของพิธีกรคู่ การแบ่งหน้าที่
อย่าแย่งกันพูด การรับส่งบทและมุข ขึ้นอยู่กับรูปแบบงานด้วย ไม่ฆ่ากันกลางอากาศ

73 บทบาทของพิธีกรต่อประเภทรายการ
บทบาทที่ต่างกันตามเนื้อหารายการ รายการบันเทิง รายการเชิงสาระ รายการข่าว บทบาทที่ต่างกันตามประเภทสคริปต์ รายการที่ใช้สคริปต์เปิด รายการที่ใช้สคริปต์กึ่งสมบูรณ์ รายการที่ใช้สคริปต์สมบูรณ์

74 หลักการปรากฏตัวทางโทรทัศน์ ในวิธีการถ่ายทำลักษณะต่างๆ
ลักษณะการถ่ายทำรายการ 1.รายการสด ต้องเตรียมความพร้อมก่อนออกอากาศอย่างน้อย 1 ชม.เพื่อทำความเข้าใจลำดับการดำเนินรายการ 2.รายการบันทึกเทป เป็นรายการที่ต้องนำไปตัดต่อก่อนออกอากาศ 3.รายการแบบผสมผสาน เป็นการออกอากาศสดประกอบกับการนำเทปบันทึกภาพมาแทรก (insert) รายการประเภทนี้ต้องรู้ความยาวของเทปภาพเพราะต้องกล่าวนำกล่าวสรุป

75 การเตรียมพร้อมในการถ่ายทำและขณะออกอากาศ
ถ้ามีบทรายการควรจะอ่านอย่างละเอียดถี่ถ้วน อาจขีดเส้นใต้เน้นย้ำ เขียนคำอ่านของคำที่ยาก ดูการเว้นวรรค และการเชื่อมต่อระหว่างบรรทัด ตั้งสมาธิกับเนื้อหาของข่าวหรือประเด็นที่จะมีการพูดคุย หรือสัมภาษณ์ และอย่านำเรื่องอื่นมาคิดหรือพูดคุยนอกเรื่อง ดูตำแหน่งไมโครโฟน แสง ตำแหน่งยืน นั่ง (Camera blocking) ถ้าพูดผิด ขออภัย ในกรณีกล้องยังจับภาพอยู่แม้จะหมดคิวแล้ว ควรรักษากิริยาไว้ให้ดีก่อน รักษาเวลา เนื่องจากวัฒนธรรมเวลาในรายการโทรทัศน์สำคัญ

76 การรายงานข่าวหรือเป็นพิธีกรนอกสถานที่
สถานที่ ข้อจำกัด ผู้ร่วมรายการมีหรือไม่ ติดต่อ คุยประเด็น ประเด็นในการพูด ข้อมูล ภาพประกอบ การสร้างบรรยากาศ สคริปต์เป็นแบบไหน

77 ทัศนคติกับการลดความหม่า
ทัศนคติต่อความประหม่า ทัศนคติต่อตนเอง ทัศนคติต่อผู้ฟัง

78 แบบฝึกหัดการเป็นพิธีกร
พิธีกรข่าว พิธีกรในรายการพูดคุย พิธีกรในรายการสัมภาษณ์


ดาวน์โหลด ppt ผู้ประกาศ พิธีกร.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google