งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การบริหารงานบุคคลของเทศบาล

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การบริหารงานบุคคลของเทศบาล"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การบริหารงานบุคคลของเทศบาล
นายวิษณุ วิทยวราวัฒน์ นักส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นชำนาญการ สำนักงานท้องถิ่นจังหวัดเชียงใหม่

2 การบริหารงานบุคคล พนักงานเทศบาล

3 การคัดเลือก หมายถึง การสรรหาบุคคลเพื่อบรรจุแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งพนักงานส่วนท้องถิ่น และการดำเนินการเพื่อแต่งตั้งพนักงานส่วนท้องถิ่นให้ดำรงตำแหน่งในระดับที่สูงขึ้น มี 4 วิธี

4 การคัดเลือก การสอบแข่งขัน การคัดเลือก กรณีมีเหตุพิเศษ การสอบคัดเลือก

5 การคัดเลือกกรณีมีเหตุพิเศษแข่งขัน
การสอบแข่งขัน คือการคัดเลือกบุคคลเพื่อบรรจุเป็นพนักงานส่วนท้องถิ่น การคัดเลือกกรณีมีเหตุพิเศษแข่งขัน คือการคัดเลือกเพื่อบรรจุบุคคลเข้ารับราชการและแต่งตั้ง ให้เป็นพนักงานส่วนท้องถิ่น การสอบคัดเลือก คือ การคัดเลือกพนักงานส่วนท้องถิ่น ให้ดำรงตำแหน่งต่างสายงาน / ในระดับที่สูงขึ้น/จากผู้ปฏิบัติเป็นบริหาร

6 การสอบเปลี่ยนสายงานผู้ปฏิบัติเป็นสายงานผู้บริหาร
แต่งตั้งกรรมการสอบคัดเลือก ไม่น้อยกว่า 5 คน ปลัดเทศบาล เป็นประธาน ผู้ทรงคุณวุฒิผู้แทนส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง เป็นกรรมการ ผู้แทนพนักงานเทศบาล เป็นกรรมการ

7 การสอบคัดเลือกสายงานผู้บริหาร
แต่งตั้งกรรมการสอบคัดเลือก ไม่น้อยกว่า 7 คน ผู้ทรงคุณวุฒิใน ก.ท.จ. 1 คน เป็นประธาน ผู้แทนส่วนราชการใน ก.จังหวัด 2 คน เป็นกรรมการ ผู้ทรงคุณวุฒิ 1 คน เป็นกรรมการ นายก อปท./ผู้แทน 1 คน เป็นกรรมการ ท้องถิ่นจังหวัด เป็นกรรมการ ปลัด อปท. เป็นกรรมการ ผู้แทนข้าราชการ/พนักงานที่นายก อปท.แต่งตั้ง เป็นเลขานุการ

8 การคัดเลือก การคัดเลือกพนักงานเพื่อแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งสูงขึ้น
มี 4 กรณี ดังนี้ การคัดเลือกในระดับควบ การคัดเลือกนอกระดับควบ การคัดเลือกนอกระดับควบสายงานวิทยาศาสตร์ การคัดเลือกสำหรับตำแหน่งบริหาร

9 การคัดเลือกเพื่อรับโอน
เป็นการคัดเลือกเพื่อรับโอนข้าราชการหรือพนักงานส่วนท้องถิ่นอื่น มาดำรงตำแหน่งในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น กรณีมีตำแหน่งว่าง

10 การคัดเลือกกรณีมีเหตุพิเศษ
ผู้ที่ได้รับทุนจากรัฐบาล/ทุนของ อปท. ผู้สำเร็จการศึกษาตามหลักสูตรที่ ก.จว.อนุมัติ ผู้สำเร็จการศึกษาตามใตคุณวุฒิที่ ก.กลางกำหนด สอบได้แต่บรรจุไม่ได้เพราะรับราชการทหาร สอบได้แต่แต่มีเหตุที่ไม่อาจเข้าปฏิบัติหน้าที่ได้ บรรจุผู้มีความรู้ ความสามารถ ความชำนาญสูง

11 การสอบแข่งขัน อปท. ดำเนินการเอง หรืออาจมอบให้หน่วยงานของ
รัฐดำเนินการได้ (อบต.ร้องขอ ก.อบต.จว.ก่อน) การดำเนินการมีลักษณะเช่นเดียวกันกับการสอบแข่งขันแต่สอบเฉพาะ ภาค ข และภาค ค ส่วนภาค ก. กรมฯ เป็นผู้ดำเนินการสอบ อปท. เป็นผู้สอบใช้บัญชีได้เฉพาะ อปท.ที่เปิดสอบ *ก.จังหวัด เป็นผู้สอบใช้บัญชีได้เฉพาะ อปท.จังหวัดนั้น

12 การคัดเลือก 1. เพื่อแต่งตั้งให้สูงขึ้นในระดับควบ
อปท. ดำเนินการ ตามหลักเกณฑ์ เงื่อนไข มีคุณสมบัติตาม มาตรฐานกำหนดตำแหน่ง ดำเนินการ ประเมินบุคคล และผลการปฏิบัติงาน

13 ข้อมูลเกี่ยวกับผู้รับการประเมิน
อปท.กำหนดแบบประเมิน มีรายละเอียด ดังนี้ ข้อมูลเกี่ยวกับผู้รับการประเมิน หน้าที่ความรับผิดชอบ ความรู้ความสามารถ การประเมินการปฏิบัติงานและคุณลักษณะบุคคล สรุปความเห็นการประเมิน เสนอตามลำดับชั้น เกณฑ์การตัดสินต้องมีมาตรฐานไม่ต่ำกว่า ก.พ. นายกพิจารณาแต่งตั้ง

14 2. เพื่อแต่งตั้งให้สูงขึ้น นอกระดับควบ
สำหรับตำแหน่งผู้ปฏิบัติที่มีประสบการณ์ อปท. ดำเนินการ ตามหลักเกณฑ์ เงื่อนไข มีคุณสมบัติตาม มาตรฐานกำหนดตำแหน่ง อปท. แต่งตั้งกรรมการพิจารณาคุณสมบัติ และ ประเมินผลงาน

15 คณะกรรมการ ประธาน ข้าราชการ หรือพนักงาน หรือที่เคยเป็นในสายงานสูงกว่าไม่น้อยกว่า 1 ระดับ หรือผู้ทรงที่ชำนาญสายงานนั้น กรรมการอย่างน้อยระดับเท่ากัน หรือผู้ทรงมีผลงานประจักษ์ ไม่น้อยกว่า 2 ไม่เกิน 5 อปท.แต่งตั้งเลขา ฯ 1 คน

16 กรรมการกำหนดแบบประเมิน ดังนี้
กรรมการกำหนดแบบประเมิน ดังนี้ ข้อมูลเกี่ยวกับผู้รับการประเมิน หน้าที่ความรับผิดชอบ ความรู้ความสามารถ การประเมินการปฏิบัติงานและคุณลักษณะบุคคล เอกสารแสดงผลการปฏิบัติงานหรือผลงานวิชาการ สรุปความในการประเมิน ของคณะกรรมการ ฯ เกณฑ์การตัดสินต้องมีมาตรฐานไม่ต่ำกว่า ก.พ. นายกพิจารณาแต่งตั้ง

17 3. เพื่อแต่งตั้งให้สูงขึ้น นอกระดับควบ
ตำแหน่งสายงานวิทยาศาสตร์ วิชาชีพเฉพาะ อปท. ดำเนินการ ตามหลักเกณฑ์ เงื่อนไข มีคุณสมบัติตาม มาตรฐานกำหนดตำแหน่ง อปท. แต่งตั้งกรรมการ ประเมินบุคคลและผลงาน

18 คณะกรรมการ กรณี เลื่อนระดับ 7 ลงมา
คณะกรรมการ กรณี เลื่อนระดับ 7 ลงมา ผู้ทรงใน ก.จว.เป็นประธานและผู้ทรงคุณวุฒิตามสาขา หรือข้าราชการ ไม่ต่ำกว่า ระดับ 8 กรรมการอย่างน้อย คน ระดับเท่ากับระดับที่จะเลื่อน เลขา 1 คน คณะกรรมการ กรณี เลื่อนระดับ 8 วและ วช ขึ้นไป ผู้ทรงที่เป็นหรือเคยเป็น ระดับ 9 ขึ้นไป เป็นประธาน ผู้ทรงคุณวุฒิตามสาขา หรือข้าราชการ ไม่ต่ำกว่าระดับ 8 ในสาขานั้น อย่างน้อย 2 คน เป็นกรรมการ และ เลขา 1 คน

19 คณะกรรมการ กรณีเลื่อนระดับ 9วช และ 9วช ขึ้นไป
ผู้ทรงในสาขา ที่เป็น / เคยเป็นระดับ 10 เป็นประธาน ผู้ทรงคุณวุฒิตามสาขา หรือข้าราชการ ไม่ต่ำกว่าระดับ อย่างน้อย 2 คน เป็นกรรมการ ผอ.สำนักที่เกี่ยวข้อง เป็นกรรมการ และแต่งตั้งเลขา 1 คน แบบและวิธีประเมิน เหมือนสายผู้มีประสบการณ์ เกณฑ์การตัดสินต้องมีมาตรฐานไม่ต่ำกว่า ก.พ. นายกพิจารณาแต่งตั้ง

20 4. เพื่อแต่งตั้งให้สูงขึ้น สำหรับตำแหน่งผู้บริหาร
อปท. ดำเนินการ ตามหลักเกณฑ์ เงื่อนไข มีคุณสมบัติตาม มาตรฐานกำหนดตำแหน่ง อปท.แต่งตั้งกรรมการคัดเลือก ไม่กว่า 7 คน ดังนี้ 1. ผู้ทรงใน ก.จว. เป็นประธาน 2. ผู้แทนส่วนราชการใน ก.จว.2 คน 3. ผู้ทรงคุณวุฒิเชี่ยวชาญการสอบ 1 คน 4. นายก / หรือผู้แทน 1 คน (อบต.ให้ปลัด ฯ) 5. ท้องถิ่นจังหวัด และ 6. พนักงานท้องถิ่น 1 คนเป็นกรรมการ/เลขา ฯ

21 การดำเนินการของคณะกรรมการ
อาจแต่งตั้งกรรมการสอบสัมภาษณ์ ประเมินความเหมาะสม กำหนดวัน / เวลา / สถานที่คัดเลือก ประกาศก่อนไม่ น้อยกว่า 5 วันทำการ / กรรมการ เป็นผู้ประกาศรับสมัคร จัดเจ้าหน้าที่รับสมัครไม่น้อยกว่า 15 วันทำการ ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิก่อนไม่น้อยกว่า 10 วันทำการ นายกแต่งตั้ง / ภายหลังมีตำแหน่งว่างภายใน 60 วัน นับแต่ประกาศ อาจแต่งตั้งที่เหลือในบัญชีได้

22 การคัดเลือกเพื่อรับโอน
เมื่อตำแหน่งผู้บริหารว่าง และ อปท.จะดำเนินการรับโอน อปท.แต่งตั้งคณะกรรมการคัดเลือกเพื่อรับโอน ประกอบด้วย ผู้ทรงใน ก.จังหวัด เป็นประธาน ผู้แทนส่วนราชการ 1 คน /ผู้ทรง 1 คน / นายกหรือ ผู้แทน 1 คน / ปลัด อปท. 1 คน / ท้องถิ่น จว. 1 คน พนักงาน 1 คน เป็นกรรมการ

23 กรณีโอนปลัดให้เปลี่ยนกรรมการที่เป็นปลัดเป็น หน.ส่วนราชการใน อปท.
กรรมการผู้แทนส่วนราชการ ให้แต่งตั้งจาก หน.ส่วนราชการประจำจังหวัด ที่เกี่ยวข้องกับการบริหาร อปท. หรือข้าราชการพลเรือน ระดับ 7 ขึ้นไป ให้แต่งตั้งพนักงานท้องถิ่นไม่ต่ำกว่า ผอ.กอง หรือ หน.ส่วนราชการ เป็นเลขานุการคณะกรรมการ

24 เลื่อนระดับนอกระดับควบ มีคุณสมบัติครบถ้วนนับถึงวันยื่นแบบ
1. มีคุณวุฒิ คุณสมบัติตรงตามคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่ง ดำรงตำแหน่งที่ต่ำกว่า 1 ระดับไม่น้อยกว่า 2 ปี มีระยะเวลาขั้นต่ำที่ดำรงตำแหน่งในสายงานตามคุณวุฒิ มีเงินเดือน ถึงระดับ สายงานเริ่มต้น ระดับ 1,2 มีคุณสมบัติครบถ้วนนับถึงวันยื่นแบบ สายงาน เริ่มต้นจากระดับ 3 1. มีคุณวุฒิคุณสมบัติตรงตามคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่ง มีระยะเวลาขั้นต่ำที่ดำรงตำแหน่งในสายงานตามคุณวุฒิ มีเงินเดือนในปีงบประมาณที่ผ่านมาไม่ต่ำกว่าอัตราเงินเดือน

25 อัตราเงินเดือนในการเลื่อนระดับนอกระดับควบ ณ 29 มิย.54
เงินเดือนปีงบที่แล้ว ไม่ต่ำกว่า เงินเดือนปีงบปัจจุบัน 4 7,530 7,940 5 9,210 9,700 6 11,920 7 14,660

26 การเลื่อนระดับพนักงานเทศบาล สายงานที่เริ่มต้นจากระดับ 1
ดำรงตำแหน่งในระดับ 2 ไม่น้อยกว่า 2 ปี ได้รับเงินเดือนในปีงบประมาณปัจจุบันไม่ต่ำกว่าขั้น 7,140 บาท ผ่านการประเมินจากผู้บังคับบัญชาชั้นต้น ระดับ 2 ระดับ 3 ดำรงตำแหน่งในระดับ 1 ไม่น้อยกว่า 2 ปี ผ่านการประเมินจากผู้บังคับบัญชาชั้นต้น ระดับ 2 ระดับ 1

27 การเลื่อนระดับพนักงานเทศบาล สายงานที่เริ่มต้นจากระดับ 1
- ดำรงตำแหน่งในระดับ 4 ไม่น้อยกว่า 2 ปี - ดำรงตำแหน่งในสายงานไม่น้อยกว่า 8 ปี - ได้รับเงินเดือนในปีงบประมาณที่แล้วไม่ต่ำกว่าขั้น 9,210 บาท - ปีงบประมาณปัจจุบันไม่ต่ำกว่าขั้น 9,700 บาท - ผ่านการประเมินบุคคลและผลงาน ระดับ 5 ระดับ 4 - ดำรงตำแหน่งในระดับ 3 ไม่น้อยกว่า 2 ปี - ดำรงตำแหน่งในสายงานไม่น้อยกว่า 6 ปี - ได้รับเงินเดือนในปีงบประมาณที่แล้วไม่ต่ำกว่าขั้น 7,530 บาท - ปีงบประมาณปัจจุบันไม่ต่ำกว่าขั้น 7,940 บาท - ผ่านการประเมินบุคคลและผลงาน ระดับ 4 ระดับ 3

28 การเลื่อนระดับพนักงานเทศบาล สายงานที่เริ่มต้นจากระดับ 2
ดำรงตำแหน่งในระดับ 3 ไม่น้อยกว่า 2 ปี หรือดำรงตำแหน่งไม่ต่ำกว่า ระดับ 2 ไม่น้อยกว่า 4 ปี กรณีวุฒิ ปวท. ให้เพิ่มเป็น 5 ปี ได้รับเงินเดือนในปีงบประมาณปัจจุบันไม่ต่ำกว่าขั้น 8,740 บาท ผ่านการประเมินจากผู้บังคับบัญชาชั้นต้น ระดับ 3 ระดับ 4 ดำรงตำแหน่งในระดับ 2 ไม่น้อยกว่า 2 ปี กรณีวุฒิ ปวส. หรือไม่น้อยกว่า 3 ปี กรณีวุฒิ ปวท. ผ่านการประเมินจากผู้บังคับบัญชาชั้นต้น ระดับ 2 ระดับ 3

29 การเลื่อนระดับพนักงานเทศบาล สายงานที่เริ่มต้นจากระดับ 2
- ดำรงตำแหน่งในระดับ 5 ไม่น้อยกว่า 2 ปี - ดำรงตำแหน่งในสายงานไม่น้อยกว่า 8 ปี กรณีวุฒิ ปวส. หรือไม่น้อยกว่า 9 ปี กรณีวุฒิ ปวท. - ได้รับเงินเดือนในปีงบประมาณที่แล้วไม่ต่ำกว่าขั้น 11,920 บาท - ปีงบประมาณปัจจุบันไม่ต่ำกว่าขั้น 11,920 บาท - ผ่านการประเมินบุคคลและผลงาน ระดับ 6 ว ระดับ 5 - ดำรงตำแหน่งในระดับ 4 ไม่น้อยกว่า 2 ปี - ดำรงตำแหน่งในสายงานไม่น้อยกว่า 6 ปี ในกรณี ปวส. หรือไม่น้อยกว่า 7 ปี กรณี ปวท. - ได้รับเงินเดือนในปีงบประมาณที่แล้วไม่ต่ำกว่าขั้น 9,210 บาท - ปีงบประมาณปัจจุบันไม่ต่ำกว่าขั้น 9,700 บาท - ผ่านการประเมินบุคคลและผลงาน ระดับ 5 ระดับ 4

30 การเลื่อนระดับพนักงานเทศบาล สายงานที่เริ่มต้นจากระดับ 3
ดำรงตำแหน่งในระดับ 4 ไม่น้อยกว่า 2 ปี หรือไม่ต่ำกว่า ระดับ 3 มาแล้วไม่น้อยกว่า 4 ปี กรณี ป.ตรี หรือไม่น้อยกว่า 3 ปี กรณี ป.โท ได้รับเงินเดือนในปีงบประมาณปัจจุบันไม่ต่ำกว่าขั้น 10,700 บาท ผ่านการประเมินจากผู้บังคับบัญชาชั้นต้น ระดับ 5 ระดับ 4 ดำรงตำแหน่งในระดับ 3 ไม่น้อยกว่า 2 ปี กรณี ป.ตรี หรือไม่น้อยกว่า 1 ปี กรณี ป.โท (ตรงตามมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง ผ่านการประเมินจากผู้บังคับบัญชาชั้นต้น ระดับ 4 ระดับ 3

31 การเลื่อนระดับพนักงานเทศบาล สายงานที่เริ่มต้นจากระดับ 3
- ดำรงตำแหน่งในระดับ 5 ไม่น้อยกว่า 2 ปี หรือดำรงตำแหน่งในระดับ 4 ไม่น้อยกว่า 4 ปี ดำรงตำแหน่งในสายงานไม่น้อยกว่า 6 ปี กรณี ป.ตรี หรือ 4 ปี กรณี ป.โท หรือ 2 ปี กรณี ป.เอก - ได้รับเงินเดือนในปีงบประมาณที่แล้วไม่ต่ำกว่าขั้น 11,920 บาท - ปีงบประมาณปัจจุบันไม่ต่ำกว่าขั้น 11,920 บาท - ผ่านการประเมินบุคคลและผลงาน ระดับ 5 ระดับ 6 ว

32 การเลื่อนระดับพนักงานเทศบาล สายงานที่เริ่มต้นจากระดับ 3
- ดำรงตำแหน่งในระดับ 6 ว ไม่น้อยกว่า 2 ปี หรือดำรงตำแหน่ง ไม่ต่ำกว่าระดับ 5 ไม่น้อยกว่า 4 ปี - ดำรงตำแหน่งในสายงานไม่น้อยกว่า 7 ปี กรณีวุฒิ ป. ตรี หรือ 5 ปี กรณีวุฒิ ป.โท หรือ 3 ปี กรณีวุฒิ ป.เอก - ได้รับเงินเดือนในปีงบประมาณที่แล้วไม่ต่ำกว่าขั้น 14,660 บาท - ปีงบประมาณปัจจุบันไม่ต่ำกว่าขั้น 14,660 บาท - ผ่านการประเมินบุคคลและผลงาน ระดับ 7 ว ระดับ 6 ว

33 เลื่อนขึ้นดำรงตำแหน่ง
คุณวุฒิ เลื่อนขึ้นดำรงตำแหน่ง ระดับ 4 ระดับ 5 ระดับ 6 ตำแหน่งในสายงานที่เริ่มต้นจากระดับ 1 หรือระดับ 2 ม.3 /ม.ศ.3/ม.6 หรือเทียบได้ไม่ต่ำกว่านี้ -ประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาตอนปลาย (วิชาชีพ 1) หรือเทียบได้ไม่ต่ำกว่านี้ -ปวช.หรือประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาตอนปลาย (วิชาชีพ 2) หรือเทียบได้ไม่ต่ำกว่านี้ 9 ปี 8 ปี 6 ปี 11 ปี 10 ปี 13 ปี 12 ปี ตำแหน่งในสายงานที่เริ่มต้นจากระดับ 2 ปวท.หรืออนุปริญญา 2 ปี หรือเทียบได้ไม่ต่ำกว่านี้ -ปวส.หรืออนุปริญญา 3 ปี หรือเทียบได้ไม่ต่ำกว่านี้ 7 ปี การนับระยะเวลา อาจนำระยะเวลาในการดำรงตำแหน่งหรือเคยดำรงตำแหน่งใน สายงานอื่น ซึ่งเป็นงานที่มีลักษณะหน้าที่ความรับผิดชอบเกี่ยวข้องและเกื้อกูลกันได้

34 การเลื่อนขั้นเงินเดือน
เลื่อนปีละ 2 ครั้ง ครั้งที่ 1 วันที่ 1 เมษายนของปีงบประมาณที่เลื่อน (1 ต.ค มี.ค.) ครั้งที่ 2 วันที่ 1 ตุลาคมของปีงบประมาณถัดไป ผู้บังคับบัญชาประเมิน ผู้มีคุณสมบัติ นำผลการประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลการปฏิบัติงานเป็นหลักในการพิจารณา อปท. แต่งตั้งคณะกรรมการพิจารณาเลื่อนขั้นเงินเดือน ผู้บริหารออกคำสั่งเลื่อน ครั้งที่ เลื่อนได้ 1 ขั้นไม่เกิน 15% ของจำนวนข้าราชการ ณ วันที่ 1 มี.ค. ครั้งที่ เลื่อนได้ไม่เกิน 6% ของอัตราเงินเดือนข้าราชการ ณ วันที่ 1 ก.ย. โดยหักวงเงินที่เลื่อนครั้งแรกออก รายงาน ก.จังหวัด

35 การสั่งพนักงานเทศบาลประจำเทศบาล
กรณีมีเหตุผลความจำเป็น จำนวน 11ประการ เทศบาลเสนอขอให้ความเห็นชอบ กรณี (1)-(7) 1. คำชี้แจงเหตุผลระยะเวลา 2. หน้าที่ ความรับผิดชอบ (ไม่ต้องกำหนดตำแหน่งใหม่) กรณี (8)-(11) 1. คำชี้แจงเหตุผล ระยะเวลา 2. หน้าที่ ความรับผิดชอบ (ไม่ต้องกำหนดตำแหน่งใหม่) กรณี (8)-(11) 1. คำชี้แจงเหตุผล ระยะเวลา 2. หน้าที่ความรับผิดชอบ 3. ต้องกำหนดตำแหน่งประจำใหม่ 1 2 1 ก.ท.จ. ให้ความเห็นชอบ ก.ท.จ. ให้ความเห็นชอบ ก.ท.จ. ให้ความเห็นชอบ ก.ท. ให้ความเห็นชอบ การขอกำหนดตำแหน่งประจำ นายกเทศมนตรีสั่งให้ประจำ เทศบาลตามระยะเวลาที่กำหนด เมื่อหมดความจำเป็น/ครบกำหนดเวลาแล้ว ให้นายกเทศมนตรีโดยความเห็นชอบของ ก.ท.จ. สั่งให้ดำรงตำแหน่งเดิมหรือตำแหน่งอื่นในระดับเดียวกัน กรณีมีเหตุผลความจำเป็นพิเศษ ขอขยายเวลาได้ไม่เกิน 1ปี

36 การสั่งพนักงานเทศบาลไปช่วยปฏิบัติราชการ
คำจำกัดความ การสั่งพนักงานเทศบาลไปช่วยปฏิบัติราชการเป็นการชั่วคราว หมายความว่า การ ให้พนักงานเทศบาลไปช่วยปฏิบัติราชการอื่นภายในเทศบาลเดียวกันหรือต่างเทศ บาลหรือส่วนราชการอื่นหน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจหรือส่วนราชการส่วนท้องถิ่น การสั่งช่วยปฏิบัติ ราชการภายในเทศบาล นายกเทศมนตรีมีอำนาจสั่งพนักงานเทศบาลไปช่วยปฏิบัติราชการในเทศบาล เดียวกันได้ทุกตำแหน่ง ห้ามมิให้สั่งพนักงานเทศบาลไปช่วยปฏิบัติราชการหน่วยงานอื่น การสั่งช่วยปฏิบัติ ราชการภายนอกเทศบาล เว้นแต่มีความจำเป็นเพื่อเป็นประโยชน์ต่อราชการ นายกเทศมนตรีอาจสั่งพนักงานไปช่วยปฏิบัติ ราชการหน่วยงานอื่นได้ภายในเงื่อนไข 1. เทศบาล และหน่วยงานอื่นตกลงเป็นหนังสือ 2. พนักงานเทศบาล สมัครใจโดยทำเป็นหนังสือ 3. พนักงานเทศบาลผู้นั้นมีความรู้ ความสามารถในงานที่ถูกสั่งไปช่วยปฏิบัติราชการ 4. สั่งไปช่วยปฏิบัติราชการได้เป็นการชั่วคราว ครั้งละไม่เกิน 6 เดือน ไม่เกิน 2 ครั้ง 5. หากจำเป็นต้องสั่งไปช่วยราชการกรณีเดียวกันเกิน 2 ครั้ง ให้เสนอเหตุผลความจำเป็นต่อก.ท.จ. 6. การสั่งพนักงานเทศบาลที่สังกัดสถานศึกษาไปช่วยปฏิบัติราชการให้กระทำได้เพื่อช่วยปฏิบัติ หน้าที่เกี่ยวกับการเรียนการสอนในสถานศึกษาเท่านั้น

37 การขอยืมตัวข้าราชการ พนักงานหรือลูกจ้างของหน่วยงานอื่นมาช่วยปฏิบัติงาน
การขอยืมตัวข้าราชการ หมายความว่า การที่เทศบาลขอยืมตัว ข้าราชการ หรือพนักงานหรือลูกจ้างของหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจหรือราชการส่วนท้องถิ่นที่มิใช่ พนักงานหรือลูกจ้างเทศบาลมาปฏิบัติงานในเทศบาลเป็นการ ชั่วคราว คำจำกัดความ เทศบาลทำความตกลงกับต้นสังกัด ผู้ถูกยืมตัว มีความรู้ความสามารถ เหมาะสมสอดคล้องกับ ภารกิจที่จะขอยืมตัว เจ้าตัวสมัครใจ ระยะเวลาตามที่ตกลง ค่าตอบแทนตามที่ ก.ท.กำหนด วิธีการ

38 ผังแสดงระยะเวลาการเปลี่ยนสายงานของผู้บริหารเทศบาล
4 ปี 2 ปี ผอ.กองต่าง ๆ 9 (นักบริหารงาน ฯ 9) ผอ.กองต่าง ๆ 8 (นักบริหารงาน ฯ 8) ผอ.ส่วนต่าง ๆ 8 (นักบริหารงาน ฯ 8) ตำแหน่ง ระดับ 7 ว หรือ 7 วช ที่มีวุฒิปริญญาตรี ดำรงตำแหน่ง มาแล้วไม่น้อย กว่า 4 ปี 2 ปี ผอ.กองต่าง 7 (นักบริหารงาน ฯ 7) ตำแหน่ง ระดับ 8 ว หรือ 8 วช ที่มีวุฒิปริญญาตรี ดำรงตำแหน่งมาแล้ว ไม่น้อย กว่า 6 ปี 2 ปี 4 ปี หัวหน้าฝ่าย 7 (นักบริหารงาน ฯ 7) สายงานต่าง ๆ ที่มีวุฒิปริญญาตรี และดำรงตำแหน่ง ในระดับ 6 2 ปี นักบริหารงาน สายงานต่าง ๆ ระดับ 6

39 ผังแสดงระยะเวลาการเปลี่ยนสายงาน
2 ปี 4 ปี 2 ปี 2 ปี 1 ปี รองปลัด 8 ปลัด 8 รองปลัด 9 ปลัด 9 4 ปี 2 ปี 4 ปี 2 ปี 1 ปี ปลัด 7 ผอ.กอง ฯ 8 ผอ.กอง ฯ 9 2 ปี รองปลัด 7 2 ปี ผังแสดงระยะเวลาการเปลี่ยนสายงาน ของผู้บริหารเทศบาล 2 ปี 4 ปี ผอ.กอง ฯ 7 นักบริหารงาน เทศบาล ระดับ 6

40 กรอบระดับตำแหน่งพนักงานเทศบาลตำแหน่งผู้บริหารตามขนาดของเทศบาล
ใหญ่ ชั้น 1 (เดิม) กลาง (ชั้น 2-6เดิม) เล็ก (ชั้น 7 เดิม) ปลัดเทศบาล *10/9 8 7 (8 ล้านบาท) 6 รองปลัดเทศบาล 9 หรือ 8 หรือ 7 (จำนวน 2-4 คน โดย มี 7 ไม่เกิน 1 คน) 8 หรือ 7 (จำนวน 2-3 คน) 7 หรือ 6 1-2 คน) - หัวหน้าส่วนราชการ ระดับสำนัก 9 หัวหน้าส่วนราชการ ระดับกอง ระดับส่วนในสำนักหรือเทียบเท่า หัวหน้าฝ่ายในกองหรือ เทียบเท่า ขนาดของเทศบาล ระดับตำแหน่ง

41 บัญชีจัดกลุ่มงานที่เกี่ยวข้องและเกื้อกูลกันของสายงานที่เริ่มต้นจากระดับ 1 และ ระดับ 2
กลุ่มที่ ตำแหน่ง 1 เจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูล เจ้าหน้าที่ทะเบียน เจ้าหน้าที่ธุรการ เจ้าพนักงานทะเบียน เจ้าพนักงานธุรการ 2 -เจ้าหน้าที่ประชาสัมพันธ์ เจ้าหน้าที่ส่งเสริมการท่องเที่ยว -เจ้าพนักงานประชาสัมพันธ์ เจ้าพนักงานส่งเสริมการท่องเที่ยว 3 -เจ้าหน้าที่ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย -เจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย -เจ้าหน้าที่เทศกิจ

42 กลุ่มที่ ตำแหน่ง 4 -เจ้าหน้าที่การคลัง เจ้าหน้าที่จัดเก็บรายได้ -เจ้าพนักงานคลัง เจ้าพนักงานจัดเก็บรายได้ -เจ้าหน้าที่การเงินและบัญชี เจ้าหน้าที่พัสดุ -เจ้าพนักงานการเงินและบัญชี เจ้าพนักงานพัสดุ -เจ้าหน้าที่บริหารงานการเงินและบัญชี 5 -ช่างโยธา ช่างเขียนแบบ เจ้าหน้าที่บริหารงานช่าง -นายช่างโยธา นายช่างเขียนแบบ -ช่างผังเมือง ช่างสำรวจ -นายช่างผังเมือง -นายช่างสำรวจ 6 -ช่างศิลป์ ช่างภาพ -นายช่างศิลป์ นายช่างภาพ

43 กลุ่มที่ ตำแหน่ง 7 -ช่างเครื่องยนต์ ช่างไฟฟ้า เจ้าหน้าที่บริหารงานช่าง -นายช่างเครื่องยนต์ นายช่างไฟฟ้า -ช่างเครื่องกล เจ้าหน้าที่การประปา -นายช่างเครื่องกล เจ้าพนักงานการประปา 8 -เจ้าหน้าที่พัฒนาชุมชน เจ้าหน้าที่ศูนย์เยาวชน -เจ้าพนักงานพัฒนาชุมชน เจ้าพนักงานศูนย์เยาวชน 9 -เจ้าหน้าที่ห้องสมุด เจ้าพนักงานห้องสมุด 10 -ทันตสาธารณสุข ทันตนามัย 11 -เจ้าหน้าที่สุขาภิบาล เจ้าหน้าที่โภชนาการ -เจ้าพนักงานสุขาภิบาล เจ้าพนักงานโภชนาการ

44 กลุ่มที่ ตำแหน่ง 12 -เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสุขภาพ การพยาบาลเทคนิค -เจ้าพนักงานส่งเสริมสุขภาพ เจ้าหน้าที่พยาบาล -เจ้าหน้าที่ผดุงครรภ์สาธารณสุข ผู้ช่วยเภสัชกร -เจ้าพนักงานสาธารณสุขชุมชน 13 - เจ้าหน้าที่วิทยาศาสตร์การแพทย์ เจ้าหน้าที่วิทยาศาสตร์ - เจ้าพนักงานวิทยาศาสตร์การแพทย์ เจ้าพนักงานวิทยาศาสตร์ 14 -เจ้าหน้าที่สวนสาธารณะ เจ้าพนักงานสวนสาธารณะ 15 -เจ้าหน้าที่เอ็กซเรย์ -เจ้าหน้าที่รังสีเทคนิค -เจ้าพนักงานรังสีการแพทย์

45 วิศวกรโยธาหรือสถาปนิก กรณีไม่มีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพสามัญวิศวกรหรือ
สามัญสถาปนิก สามารถเลื่อนระดับเป็นระดับ 7 ว ได้ โดยไม่ได้รับเงินประจำตำแหน่ง ประเภทวิชาชีพเฉพาะ พยาบาลวิชาชีพในระหว่างที่ใบอนุญาตหมดอายุให้สามารถประเมินเพื่อเลื่อนระดับได้ ในสายงานวิชาการ (ว) โดยไม่ได้รับเงินประจำตำแหน่งประเภทวิชาชีพเฉพาะ

46 กับสายงานที่เริ่มต้นจากระดับ 3
บัญชีกลุ่มงานเกี่ยวข้องและเกื้อกูลของสายงานที่เริ่มต้นจากระดับ 1 และระดับ 2 กับสายงานที่เริ่มต้นจากระดับ 3 กลุ่มที่ ตำแหน่ง (สาย 1, 2) ตำแหน่ง (สาย 3) 1 -เจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูล -เจ้าหน้าที่ธุรการ -เจ้าพนักงานธุรการ -เจ้าหน้าที่ทะเบียน -เจ้าพนักงานทะเบียน -เจ้าหน้าที่บริหารงานทะเบียนและบัตร -เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป -บุคลากร -เจ้าหน้าที่บริหารงานธุรการ -เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน -เจ้าหน้าที่ระบบงานคอมพิวเตอร์ 2 -เจ้าหน้าที่ประชาสัมพันธ์ -เจ้าพนักงานประชาสัมพันธ์ -เจ้าหน้าที่ส่งเสริมการท่องเที่ยว -เจ้าพนักงานส่งเสริมการท่องเที่ยว -นักวิชาการประชาสัมพันธ์ -นักวิชาการพัฒนาการท่องเที่ยว -นักพัฒนาการท่องเที่ยว -เจ้าหน้าที่พัฒนาการท่องเที่ยว

47 กลุ่มที่ ตำแหน่ง (สาย 1, 2) ตำแหน่ง (สาย 3) 3 -เจ้าหน้าที่ป้องกันและบรรเทา ฯ -เจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาฯ -เจ้าหน้าที่เทศกิจ -เจ้าพนักงานเทศกิจ 4 -เจ้าหน้าที่การคลัง -เจ้าพนักงานการคลัง -เจ้าหน้าที่การเงินและบัญชี -เจ้าพนักงานการเงินและบัญชี -เจ้าหน้าที่จัดเก็บรายได้ -เจ้าพนักงานจัดเก็บรายได้ -เจ้าหน้าที่พัสดุ -เจ้าพนักงานพัสดุ -เจ้าหน้าที่บริหารงานการเงินและบัญชี -เจ้าหน้าที่ตรวจสอบภายใน -นักวิชาการคลัง -นักวิชาการเงินและบัญชี -นักวิชาการจัดเก็บรายได้ -นักวิชาการพัสดุ

48 กลุ่มที่ ตำแหน่ง (สาย 1, 2) ตำแหน่ง (สาย 3) 5 -ช่างโยธา -เจ้าหน้าที่บริหารงานช่าง -นายช่างโยธา -ช่างผังเมือง -นายช่างผังเมือง -ช่างเขียนแบบ -นายช่างเขียนแบบ -ช่างสำรวจ -นายช่างสำรวจ -วิศวกรโยธา -นักผังเมือง -สถาปนิก -นักวิจัยการจราจร

49 กลุ่มที่ ตำแหน่ง (สาย 1, 2) ตำแหน่ง (สาย 3) 6 -ช่างเครื่องยนต์ -นายช่างเครื่องยนต์ -ช่างเครื่องกล -นายช่างเครื่องกล -ช่างไฟฟ้า -นายช่างไฟฟ้า -เจ้าหน้าที่การประปา -เจ้าพนักงานการประปา -เจ้าหน้าที่บริหารงานช่าง -วิศวกรเครื่องยนต์ -วิศวกรสิ่งแวดล้อม -วิศวกรสุขาภิบาล -วิศวกรไฟฟ้า

50 กลุ่มที่ ตำแหน่ง (สาย 1, 2) ตำแหน่ง (สาย 3) 7 -เจ้าหน้าที่พัฒนาชุมชน -เจ้าพนักงานพัฒนาชุมชน -เจ้าหน้าที่ศูนย์เยาวชน -เจ้าพนักงานศูนย์เยาวชน -นักสังคมสงเคราะห์ -นักพัฒนาชุมชน -เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป -เจ้าหน้าที่สันทนาการ -สารวัตรนักเรียน 8 -เจ้าหน้าที่ห้องสมุด -เจ้าพนักงานห้องสมุด -บรรณารักษ์ 9 -เจ้าพนักงานทันตสาธารณสุข -ทันตนามัย -ทันตแพทย์ 10 -สัตวแพทย์ -นายสัตวแพทย์

51 กลุ่มที่ ตำแหน่ง (สาย 1, 2) ตำแหน่ง (สาย 3) 11 -เจ้าหน้าที่สุขาภิบาล -เจ้าพนักงานสุขาภิบาล -โภชนาการ -เจ้าพนักงานโภชนาการ -นักวิชาการสุขาภิบาล -นักวิชาการสิ่งแวดล้อม 12 -เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสุขภาพ -เจ้าพนักงานส่งเสริมสุขภาพ -ผดุงครรภ์สาธารณสุข -พยาบาลเทคนิค -เจ้าหน้าที่พยาบาล -เจ้าพนักงานสาธารณสุขชุมชน -นักวิชาการส่งเสริมสุขภาพ -พยาบาลวิชาชีพ 13 -ผู้ช่วยเภสัชกร -เภสัชกร

52 กลุ่มที่ ตำแหน่ง (สาย 1, 2) ตำแหน่ง (สาย 3) 14 -เจ้าหน้าที่วิทยาศาสตร์การแพทย์ -เจ้าพนักงานวิทยาศาสตร์การแพทย์ -เจ้าหน้าที่วิทยาศาสตร์ -เจ้าพนักงานวิทยาศาสตร์ -นักวิชาการวิทยาศาสตร์การแพทย์ -นักวิทยาศาสตร์ 15 -เจ้าหน้าที่สวนสาธารณะ -เจ้าพนักงานสวนสาธารณะ -นักวิชาการสวนสาธารณะ -นักวิชาการเกษตร

53 การนับระยะเวลาขั้นต่ำในการดำรงตำแหน่งที่เกี่ยวข้องและเกื้อกูล
มีระยะเวลาการดำรงตำแหน่งในสายงานและได้ปฏิบัติหน้าที่ในสายงานที่จะแต่งตั้ง มาแล้วไม่น้อยกว่า 1 ปี ให้นำระยะเวลาในสายงานที่เริ่มต้นจากระดับ 1 และระดับ 2 มานับรวมเป็นระยะ เวลาการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องและเกื้อกูลกับสายงานที่เริ่มต้นจากระดับ 3 ได้ ไม่ก่อนวันที่ผู้นั้นได้รับวุฒิปริญญาที่ตรงตามคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่งที่ จะแต่งตั้ง และต้องดำรงตำแหน่งตั้งแต่ระดับ 3 ขึ้นไป โดยให้นับระยะเวลาได้ ไม่เกินครึ่งหนึ่งของระยะเวลาการปฏิบัติงานดังกล่าว

54 การจัดตั้งหรือปรับปรุงการกำหนดส่วนราชการใหม่
ให้เสนอการขอจัดตั้งหรือปรับปรุงกำหนดส่วนราชการและการกำหนดตำแหน่งใหม่ ให้คณะกรรมการกลางพนักงานเทศบาล (ก.ท.) พิจารณาให้ ความเห็นชอบ โดยให้มีรายการ ดังนี้ 1. เหตุผลความจำเป็นที่จัดตั้งหรือปรับปรุงการกำหนดส่วนราชการใหม่ 2. ภารกิจ อำนาจ หน้าที่ ความรับผิดชอบของส่วนราชการเดิม 3. อำนาจหน้าที่ความรับผิดชอบของส่วนราชการที่จะขอจัดตั้ง 4. ลักษณะงานที่ปฏิบัติ คุณภาพ และปริมาณงานที่เพิ่มขึ้นจากเดิม ถึงขนาดต้องจัดตั้งหรือต้องมีการปรับปรุง 5. กรอบโครงสร้างอัตรากำลังพนักงานเทศบาลในส่วนราชการเดิม และที่จัดตั้งใหม่ 6. ร่างประกาศเทศบาล กำหนดส่วนราชการที่ปรับปรุงใหม่ โดยกำหนด อำนาจหน้าที่ความรับผิดชอบและการจัดแบ่งส่วนราชการภายในด้วย

55 การทดลองปฏิบัติหน้าที่ราชการ
ทดลอง 6 เดือน ประเมินทุก 3 เดือน รายงานการให้รับราชการต่อไป ให้ออกจากราชการ ทันทีที่เห็นว่า ความประพฤติไม่ดี ไม่มีความรู้ความสามารถ ลาคลอดบุตร ลาป่วยนับเป็นเวลาทดลองฯ ความเห็นไม่ควรให้รับราชการ

56 ปรับเงินเดือนตามวุฒิ
เป็นวุฒิทางเดียวกับ ก.กลาง.กำหนด วันปรับ (ไม่ก่อนจบ/พ้นทดลอง/ไม่ข้ามปี) ไม่ปรับตำแหน่ง ระดับ หลักฐาน สำเนาใบรับรองวุฒิสำเนาคำสั่งพ้นทดลอง อปท.ตรวจสอบ เสนอตามลำดับ นายก อปท.สั่งปรับ ส่งสำเนาคำสั่ง พร้อมหลักฐาน

57 การพิจารณาเงินเดือน เป็นหลักสูตร จำนวน ต่อจากคุณวุฒิใด ปีการศึกษา เช่น ปวช. 5,760 อนุปริญญา / ปวท. 6,470 อนุปริญญา / ปวส. 7,100 ป.ตรี 7,940

58 ผอ.สำนัก 9 8 ปี นวช. 8 ว ผอ.กอง/ส่วน 8 ผอ.กอง 7 4 ปี นวช. 7 ว
2 ปี ผอ.กอง 7 4 ปี 2 ปี 4 ปี นวช. 7 ว หน.ส่วน/ฝ่าย 7 2 ปี 4 ปี จพง. 6 ว นวช. 6 ว หน.ฝ่าย 6 2 ปี 2+6 ปี สายนักบริหาร ระดับ 5 จพง. 5 นวช. 5 2 ปี 2+6 ปี 2 ปี+10,190 ระดับ 4 จพง. 4 นวช. 4 2+6 ปี 2 ปี+ 8,320 2 ปี ระดับ 3 จพง. 3 นวช. 3 2 ปี+ 6,800 2 ปี สายเริ่มต้น ระดับ 3 ระดับ 2 จพง. 2 2 ปี สายเริ่มต้น ระดับ 2 ระดับ 1 สายเริ่มต้น ระดับ 1

59 เปลี่ยนสายงานจากสาย 1 เป็นสาย 2
ย้าย สายงานระดับ 2 ดำรงตำแหน่งระดับ 2 / 3 / 4 คุณวุฒิตรง ไม่ต้องปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้อง คุณสมบัติ ในระดับควบ อยู่ในกลุ่มงานเกื้อกูลกัน ดำรงตำแหน่งระดับ 5 คุณวุฒิตรง ประเมินบุคคล ประเมินผลการปฏิบัติงาน (ไม่ต้องประเมินผลงาน) นอกระดับควบ

60 ปรับเงินเดือนตามวุฒิ
เป็นวุฒิทางเดียวกับ ก.กลาง.กำหนด วันปรับ (ไม่ก่อนจบ/พ้นทดลอง/ไม่ข้ามปี) ไม่ปรับตำแหน่ง ระดับ หลักฐาน สำเนาใบรับรองวุฒิสำเนาคำสั่งพ้นทดลอง อปท.ตรวจสอบ เสนอตามลำดับ นายก อปท.สั่งปรับ ส่งสำเนาคำสั่ง พร้อมหลักฐานให้ ก.จังหวัด

61 การพิจารณาโบนัส กรณีปฏิบัติงานครบ 12 เดือน แต่ลาออกวันที่ 1 ตุลาคม 2551 จะได้โบนัสหรือไม่ กรณีโอนไปเป็นข้าราชการพลเรือน จะได้รับโบนัสหรือไม่ กรณีหมดสัญญาจ้าง แล้วไม่ต่อสัญญาจ้างจะได้รับโบนัสหรือไม่

62 การพิจารณาโบนัส กรณีพนักงานจ้างตามภารกิจ ผู้ดูแลเด็ก ได้รับการคัดเลือกเป็นหัวหน้าศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สามารถนำระยะเวลาที่ปฏิบัติงานผู้ดูแลเด็ก และหัวหน้าศูนย์พัฒนาเด็กเล็กรวมกัน จะได้รับโบนัสหรือไม่

63 การพิจารณาโบนัส กรณีพนักงานจ้างตามภารกิจ ผู้ช่วยนิติกร ได้รับการบรรจุเป็นพนักงานส่วนท้องถิ่น ในตำแหน่งนิติกร จะสามารถนำระยะเวลาทั้ง 2 แห่ง มานับรวมกันเพื่อพิจารณารับโบนัสได้หรือไม่

64 การพิจารณาคุณวุฒิ มาตรฐานกำหนดตำแหน่ง

65 ปัญหาการบรรจุ แต่งตั้ง ชื่อคุณวุฒิ ไม่ตรงตามคุณสมบัติเฉพาะ
มีการปรับปรุงหลักสูตรใหม่ สิ่งที่ชี้ว่าเป็นคุณวุฒิ“ ทางใด ”ต่างกัน สาขาวิชา แขนงวิชา วิชาเอก โปรแกรมวิชา มาตรฐานของหลักสูตรแตกต่างกัน การกำหนดเงินเดือนตามคุณวุฒิ อนุปริญญา = ปวท. อนุปริญญา = ปวส.

66 คุณวุฒิ การตรวจสอบคุณวุฒิ เอกสาร ปริญญาบัตร/ประกาศนียบัตร
บรรจุ ปรับวุฒิ คุณวุฒิ เลื่อนระดับ โอน / ย้าย เอกสาร ปริญญาบัตร/ประกาศนียบัตร ใบแสดงรายวิชา คุณวุฒิเดิม หลักฐานการเปลี่ยนชื่อ - สกุล

67 ขั้นตอนการพิจารณาคุณวุฒิ
ตรวจสอบคุณสมบัติเฉพาะตำแหน่ง ระดับของคุณวุฒิ คุณวุฒิทาง ตรวจสอบหลักฐานการศึกษา ปริญญาบัตร/ประกาศนียบัตร ใบแสดงรายวิชาที่ศึกษา ตรวจสอบรายชื่อสถาบันการศึกษา ชื่อ - นามสกุล วัน เดือน ปีที่สำเร็จการศึกษา ตรวจสอบคุณวุฒิตรงคุณสมบัติฯ ตรวจสอบอัตราเงินเดือน

68 มาตรฐานกำหนดตำแหน่ง อบต. เทศบาล อบจ. 91 127 70 ก.พ. อื่นๆ 432 อปท. กำหนด ก.จังหวัด ก.กลาง เห็นชอบ

69 + คุณสมบัติเฉพาะ กำหนด 15 หน่วยกิต ป.ตรี = 4 ปี ป.ตรี = 2 ปี
กำหนด 15 หน่วยกิต ป.ตรี = 4 ปี ป.ตรี = 2 ปี ป.ตรี = 4/2 ปี ป.ตรี 15 หน่วยกิต + ปวส./ปวท./อนุฯ หน่วยกิต ไม่ครบ 6 หน่วยกิต 9 หน่วยกิต ศึกษารายวิชา

70 การกำหนด “ ทาง ” ของคุณวุฒิ
ชื่อคุณวุฒิ เนื้อหาวิชา วิชาเอก ปวช. ปวส. ป.ตรี ป.โท. 30 นก. 35 นก. 30 นก. 15 นก. ป.ตรี (2 ปี) ป.ตรี ปวส./ปวท./อนุ 15 นก. 15 นก.

71 นักบริหารงานการคลัง 6 ปริญญาตรีทางบัญชี / พาณิชยศาสตร์
เศรษฐศาสตร์ / บริหารการคลัง / การเงินและการธนาคาร/บริหารธุรกิจ/ การจัดการทั่วไป (บริหารธุรกิจ และ การจัดการทั่วไป บัญชีไม่น้อยกว่า 15 หน่วยกิต)

72 นักบริหารงานช่าง 6 ปริญญาตรีทางวิศวกรรมโยธา วิศวกรรมชลประทาน วิศวกรรม สุขาภิบาล วิศวกรรมสำรวจ วิศวกรรมเครื่องกล วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม สถาปัตยกรรม ผังเมือง ก่อสร้าง การจัดการงานก่อสร้าง

73 จพง. การเงินและบัญชี ปวท./ปวส. หรือเทียบได้ไม่ต่ำกว่านี้ทางบัญชี พาณิชยการ เลขานุการ การบริหารธุรกิจ การจัดการทั่วไป(บริหารธุรกิจการจัดการทั่วไป จะต้องมีบัญชีไม่น้อยกว่า 9/15 หน่วยกิต) นักวิชาการเงินและบัญชี ป.ตรี หรือเทียบได้ไม่ต่ำกว่านี้ทางบัญชี พาณิชยศาสตร์ เศรษฐศาสตร์

74 ได้รับปริญญาตรีหรือเทียบได้ไม่ต่ำกว่านี้
จนท.วิเคราะห์นโยบายฯ ได้รับปริญญาตรีหรือเทียบได้ไม่ต่ำกว่านี้ ทางสังคมศาสตร์ การวางแผน รัฐศาสตร์ วิจัยทางสังคมศาสตร์ เศรษฐศาสตร์

75 ปริญญาตรีทางสังคมศาสตร์
ปริญญาที่ ก.พ. รับรองเป็นทาง รัฐประศาสนศาสตร์ สังคมสงเคราะห์ สุขศึกษา พาณิชยศาสตร์ พัฒนาชุมชน การเงินและการธนาคาร ปรัชญา ภูมิศาสตร์ จิตวิทยา อักษรศาสตร์ บริหารธุรกิจ ศิลปศาสตร์ การศึกษา บัญชี เศรษฐศาสตร์ นิเทศศาสตร์ รัฐศาสตร์ ครุศาสตร์ สังคมวิทยา นิติศาสตร์


ดาวน์โหลด ppt การบริหารงานบุคคลของเทศบาล

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google