ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
2
หน่วยงานที่รับผิดชอบ
จำนวนตัวชี้วัด ระดับกระทรวง 9 ตัวชี้วัด ระดับเขต 16 ตัวชี้วัด ระดับจังหวัด 18 ตัวชี้วัด หน่วยงานที่รับผิดชอบ กรมอนามัย กรมควบคุมโรค กรมการแพทย์ กรมสุขภาพจิต กรมสนับสนุนฯ
3
ยุทธศาสตร์พัฒนาสุขภาพกลุ่มวัย ปี 58
โครงสร้างตัวชี้วัด ยุทธศาสตร์พัฒนาสุขภาพกลุ่มวัย ปี 58 ตัวชี้วัดประเทศ สภาวะสุขภาพประชาชน การบริหารองค์กรเครื่องมือที่ใช้Monitor จว. ตัวชี้วัดเขตสุขภาพ ความเข้มแข็งของหน่วยปฏิบัติการ ตัวชี้วัดระดับจังหวัด
4
กลุ่มสตรีและเด็ก 0-5 ปี
5
ความเชื่อมโยงตัวชี้วัด 3 ระดับ: แม่และเด็ก
ความเชื่อมโยงตัวชี้วัด 3 ระดับ: แม่และเด็ก ประเทศ (สภาวะสุขภาพ) เขตสุขภาพ (การบริหารระบบ) จังหวัด (ปฏิบัติการคุณภาพ) มารดาตาย - MCH Boardเข้มแข็ง - ANC<12wks พัฒนาการเด็ก ปี สมวัย - ศูนย์เด็กเล็กคุณภาพ - Breast Feeding - Screening
6
อัตราส่วนการตายมารดา <15 ต่อ การเกิด มีชีพแสนคน
สถานการณ์ปี 2557 เขต 11 ประเทศ แนวโน้มเขต 15.23 16 ลดลงจากปี 56 แต่สูงกว่าอัตราเฉลี่ยของ ประเทศ ปี 54 = ปี 55 = ปี 56 = ข้อเท็จจริง จากการวิเคราะห์ข้อมูล ก 1 / รายงานจังหวัด 3 ปี ( ) จำนวน 33 ราย ร้อยละ 90.9 แม่เสียชีวิตในสถานบริการ (30 ราย) ประกอบด้วย ตายหลังคลอด ร้อยละ ตายจาก Criminal Abortion ร้อยละ ตายจาก Abortion ร้อยละ ตายขณะคลอด ร้อยละ จำนวน รพท./ รพศ.ผ่าน HA ด้านแม่และเด็ก ร้อยละ
7
อัตราเด็ก 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัยร้อยละ 85
สถานการณ์ปี 2557 เขต11 ประเทศ แนวโน้มเขต เพิ่มขึ้น ( ใช้แบบอนามัย 55) ลดลง (ใช้ Denver II) ใช้แบบอนามัย 55 ข้อเท็จจริง ข้อมูลรายงาน เป็น self report จาก สถานบริการ / WCC – ข้อมูลสำรวจใช้บุคลากร 1 คน ต่อ การคัดกรองเด็ก 10 ราย ใช้ระยะเวลา 3 ชั่วโมง
8
MCH Board ระดับจังหวัดมีกลไกในการเฝ้าระวัง
และแก้ไขปัญหาสุขภาพอนามัยแม่และเด็ก สถานการณ์ปี 2557 เขต 11 ประเทศ แนวโน้มเขต 100 คงที่ ข้อเท็จจริง มีทุกจังหวัด จากรายงานผลการนิเทศตามรอบปกติ ระดับจังหวัด
9
ศูนย์เด็กคุณภาพ ร้อยละ 60
สถานการณ์ปี 2557 เขต 11 ประเทศ แนวโน้มเขต 71.45 57 เพิ่มขึ้น ข้อเท็จจริง ข้อมูลรายงานผล ประเมินรับรองมาตรฐานโดยอำเภอ/จังหวัด ใช้มาตรฐานศูนย์เด็กเล็กคุณภาพฉบับบูรณาการกรมอนามัย / กรมควบคุมโรค ปี เป็นศูนย์เด็กเล็กสังกัด ทบ. ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ เป็นศูนย์เด็กเล็กสังกัด อบต. ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ เป็นศูนย์เด็กเล็กสังกัดอื่นๆ (รร./มัสยิด/เอกชน) ร้อยละ 50
10
ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหา แม่ตายและพัฒนาการเด็ก (0-5 ปี)
ด้านบริหารจัดการ ด้านคุณภาพบริการ ด้านความตระหนักของประชาชน บทบาท และ ความเข้มแข็งของ MCH. Board -มฐ. การส่งต่อ / การคลอด /การดูแลหลังคลอด -มฐ. การคัดกรอง (ANC /WCC) มาตรฐานบริการ -พฤติกรรมผู้ให้บริการ การฝากครรภ์เร็ว การฝากครรภ์ครบ การใช้คู่มือ รับวัคซีนครบ กินนมแม่ครบ 6 เดือน ความเข้มแข็งของอสม. /อปท.
11
ความเชื่อมโยงตัวชี้วัด 3 ระดับ : แม่และเด็ก
ความเชื่อมโยงตัวชี้วัด 3 ระดับ : แม่และเด็ก ประเทศ (สภาวะสุขภาพ) เขตสุขภาพ (การบริหารระบบ) จังหวัด (ปฏิบัติการคุณภาพ) มารดาตาย - MCH Boardเข้มแข็ง - ANC<12wks ?? พัฒนาการเด็ก ปี สมวัย - ศูนย์เด็กเล็กคุณภาพ Breast Feeding Screening ระบบข้อมูล ระบบ M&E - KM / สื่อสาร - DHS ด้านแม่และเด็ก - มฐ.บริการ:PCA/CPG อสม.เข้มแข็ง - อปท.เข้มแข็ง (ตบ.จัดการสุขภาพฯ)
12
วัยเรียน 5-14 ปี
13
ความเชื่อมโยงตัวชี้วัด 3 ระดับ : วัยเรียน จังหวัด (ปฏิบัติการคุณภาพ)
ประเทศ (สภาวะสุขภาพ) เขตสุขภาพ (การบริหารระบบ) จังหวัด (ปฏิบัติการคุณภาพ) เด็กอ้วน - เข้าร่วม HPS คุณภาพบริการภาพรวม จังหวัด -คัดกรอง /แก้ไข ช่องปาก ,หู/ตา เด็กรูปร่างสมส่วน ตายจากจมน้ำ IQ/ผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษา Board พัฒนาเด็กวัยเรียน คัดกรอง/แก้ไข
14
เด็กนักเรียนเริ่มอ้วนและอ้วนไม่เกิน ร้อยละ10
สถานการณ์ปี 2557 เขต11 ประเทศ แนวโน้มเขต 10.3 12 เพิ่มขึ้น ข้อเท็จจริง เป็นข้อมูลรายงานจากการชั่งน้ำหนัก-วัดส่วนสูงของครู ประถมฯ –ใช้เกณฑ์มาตรฐานภาวะ การเจริญเติบโต กรมอนามัยปี –ข้อมูลการสำรวจโดยกรมอนามัย ปี 2557 เด็กอ้วน ร้อยละ 17 เด็กทีมีส่วนสูงระดับดี และรูปร่างสมส่วน ร้อยละ 61.3
15
เด็กนักเรียน 6-12 ปี มีคะแนนระดับสติปัญญา(IQ) > 100 จุด
สถานการณ์ปี 2557 เขต 11 ประเทศ แนวโน้มเขต 96.85 98.59 ลดลง ข้อเท็จจริง -สำรวจนักเรียนประถมโดยกรมสุขภาพจิต ปี2555 (5 ปี/ครั้ง) กระทรวงศึกษาธิการ มีการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษา สถานศึกษามีแบบคัดกรองภาวะ การเรียนรู้บกพร่อง (LD/MR/Autism/ADHD)
16
อัตราเสียชีวิตจากการจมน้ำของเด็กต่ำกว่า15 ปี < 6.5 ต่อ แสน ปชก.
อัตราเสียชีวิตจากการจมน้ำของเด็กต่ำกว่า15 ปี < 6.5 ต่อ แสน ปชก. สถานการณ์ปี 2557 เขต11 ประเทศ แนวโน้มเขต 7.26 ข้อเท็จจริง - เป็นข้อมูลจากฐานข้อมูลการตายทะเบียนราษฎร์ ปี 2556 ปี 2555 อัตรา 8.4 ต่อ แสนประชากร
17
โรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ร้อยละ 95
สถานการณ์ปี 2557 เขต 11 ประเทศ แนวโน้มเขต 100 90 คงที่ ข้อเท็จจริง - เป็นโรงเรียนทุกสังกัด ประถม และ มัธยม - โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับทอง ร้อยละ73.4 (ประเมินโดย ทีมระดับอำเภอ/จังหวัด ) –โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร ร้อยละ 1.49 (ประเมินโดยศูนย์อนามัยที่11)
18
โรงเรียนที่ดำเนินกิจกรรมผ่าน KPIระดับจังหวัดทุกด้านร้อยละ 40
สถานการณ์ปี 2557 เขต 11 ประเทศ แนวโน้มเขต ข้อเท็จจริง KPI ระดับจังหวัด ได้แก่ เด็กได้รับการประเมิน/แก้ไขภาวะโภชนาการ เด็กมีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน ร้อยละ 70 ( Based line เขต 11 ร้อยละ ) เด็กในถิ่นทุรกันดารมีโรคหนอนพยาธิ < ร้อยละ 8 (เขต11 มี รร.ทุรกันดาร 17 แห่ง /5 จว.) นร.ป.1ทุกคนได้รับการตรวจสายตาและการได้ยินโดย ร้อยละ80 ของเด็กที่มีปัญหาได้รับการช่วยเหลือแก้ไข
19
ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหา อ้วนในเด็ก 5-14 ปี
ด้านอำนวยการ ด้านคุณภาพบริการ ด้านความตระหนักของประชาชน ไม่มี Boardระดับเขต -มฐ. การคัดกรอง- มฐ.การแก้ไขปัญหา การเข้าถึงบริการ - ความรู้/เครื่องมือ/พฤติกรรมผู้ให้บริการ การคัดกรองสุขภาพของนักเรียน โดย ผู้ปกครอง /ครู ความเข้มแข็งของ สพป. ความเข้มแข็งของอปท.
20
ความเชื่อมโยงตัวชี้วัด 3 ระดับ : วัยเรียน จังหวัด (ปฏิบัติการคุณภาพ)
ประเทศ (สภาวะสุขภาพ) เขตสุขภาพ (การบริหารระบบ) จังหวัด (ปฏิบัติการคุณภาพ) เด็กอ้วน เข้าร่วม HPS คุณภาพบริการภาพรวม จังหวัด -คัดกรอง /แก้ไข ช่องปาก ,หู/ตา เด็กรูปร่างสมส่วน ตายจากจมน้ำ Board วัยเรียนเขต/สพป. ข้อมูล / ระบบ M&E KM / สื่อสาร - DHS ด้านเด็กวัยเรียน มฐ.บริการ: PCA/CPG อปท.เข้มแข็ง/ตำบล.จัดการสุขภาพ
21
วัยรุ่น 15-21ปี
22
ความเชื่อมโยงตัวชี้วัด 3 ระดับ : วัยรุ่น จังหวัด (ปฏิบัติการคุณภาพ)
ประเทศ (สภาวะสุขภาพ) เขตสุขภาพ (การบริหารระบบ) จังหวัด (ปฏิบัติการคุณภาพ) แม่วัยใส ตั้งครรภ์ซ้ำ พฤติกรรมใช้ถุงยาง รร.สอนเพศศึกษา ความชุกดื่มแอลกอฮอล์ พฤติกรรมสูบบุหรี่ สถานศึกษาเข้มแข็ง/กฎหมาย
23
อัตราการคลอดมีชีพในหญิง15-19ปี ไม่เกิน 50 ต่อ ปชก.หญิง15-19 ปี พันคน
สถานการณ์ปี 2557 เขต 11 ประเทศ แนวโน้มเขต 55.2 51.2 ลดลง ข้อเท็จจริง -เป็นข้อมูลรายงานการคลอดมีชีพจากสถานบริการสาธารณสุขปี ข้อมูลรายงานการเฝ้าระวังการแท้งในประเทศ ปี 2556 โดยกรมอนามัย : - ร้อยละ มีสถานภาพนักเรียน/นักศึกษา ร้อยละ29 มีอายุต่ำกว่า 20 ปี ร้อยละ 60.5 อายุต่ำกว่า 25 ปี ร้อยละ 5.4 เป็นผู้ทำแท้งซ้ำที่มีอายุ ปี
24
ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหา สุขภาพวัยรุ่น
ด้านอำนวยการ ด้านคุณภาพบริการ ด้านความตระหนักของประชาชน บทบาท Board วัยรุ่น (สธ /พม / มท./อปท./ ศษ.) การเข้าถึงบริการดูแลช่วยเหลือ -มาตรการ /การใช้กฎหมาย ความรู้/วิธีการพฤติกรรมผู้ให้บริการ - Safe sex - เคารพกฎหมาย ความเข้มแข็งของการศึกษา / มหาดไทย สถานประกอบการ
25
ความเชื่อมโยงตัวชี้วัด 3 ระดับ : วัยรุ่น
ประเทศ (สภาวะสุขภาพ) เขตสุขภาพ (การบริหารระบบ) จังหวัด (ปฏิบัติการคุณภาพ) แม่วัยใส ตั้งครรภ์ซ้ำ พฤติกรรมใช้ถุงยาง รร.สอนเพศศึกษา ความชุกดื่มแอลกอฮอล์ พฤติกรรมสูบบุหรี่ สถานศึกษาเข้มแข็ง/กฎหมาย Boardวัยรุ่น/พม./ศษ/มท ข้อมูล / ระบบ M&E KM / สื่อสาร DHS ด้านเด็กวัยรุ่น มฐ.บริการ: PCA/CPG อปท.เข้มแข็ง/ตำบล.จัดการสุขภาพ
26
วัยทำงาน 15-59ปี
27
ผู้สูงอายุ /กลุ่มคนพิการ
28
ความเชื่อมโยงตัวชี้วัด 3 ระดับ : วัยสูงอายุ จังหวัด (ปฏิบัติการคุณภาพ)
ประเทศ (สภาวะสุขภาพ) เขตสุขภาพ (การบริหารระบบ) จังหวัด (ปฏิบัติการคุณภาพ) พฤติกรรมที่พึงประสงค์ -ตำบล LTC /DHS -การบูรณาการระบบดูแล ผู้ป่วยStroke /พิการ ของเขต สภาพแวดล้อมของสถานบริการ - คนพิการมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น -การคัดกรอง กาย/ใจ ระบบบริการครบวงจรของ สถานบริการ ผู้พิการขาขาดได้รับการดูแล
29
ร้อยละ ของผู้สูงอายุมีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ ร้อยละ 30
สถานการณ์ปี 2557 เขต11 ประเทศ แนวโน้มเขต 26 ข้อเท็จจริง - เป็นรายงานสำรวจสุขภาวะผู้สูงอายุไทยปี2556โดยกรมอนามัย, สปสช.,HITAP :- ผู้สูงอายุเข้าถึงบริการระบบสุขภาพ ร้อยละ 56.7 ต้องการความช่วยเหลือในการทำกิจวัตรประจำวัน ร้อยละ ข้อมูลรายงานการประเมินผลแผนผู้สูงอายุแห่งชาติฉบับที่2 พ.ศ.2552 :- ผู้สูงอายุมีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ ร้อยละ 18.8
30
ร้อยละของระบบสุขภาพระดับอำเภอ ที่มีระบบดูแลผู้สูงอายุระยะยาว (Long Term Care) ด้านสุขภาพ
สถานการณ์ ปี 2557 เขต 11 ประเทศ แนวโน้มเขต 22.06 27 เพิ่มขึ้น ข้อเท็จจริง - เป็นข้อมูลรายงานการประเมินรับรองตำบล LTC โดยจังหวัด ปี ใช้เกณฑ์มาตรฐานตำบล LTC กรมอนามัย ปี 2557
31
ร้อยละ 80 ของจังหวัดในเขตบริการสุขภาพมีการดำเนินงาน ในการบูรณาการระบบดูแลสุขภาพคนพิการทางการเคลื่อนไหว/ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองที่พ้นระยะวิกฤตผ่านเกณฑ์ระดับ3 สถานการณ์ ปี 2557 เขต 11 ประเทศ แนวโน้มเขต ข้อเท็จจริง สำรวจโดยกรมการแพทย์
32
ร้อยละของสถานบริการมีการปรับสภาพแวดล้อม มีสิ่งอำนวยความสะดวกให้คนพิการ / ผู้สูงอายุเข้าถึง และใช้ประโยชน์ได้ สถานการณ์ ปี 2557 เขต 11 ประเทศ แนวโน้มเขต ข้อเท็จจริง - จะสำรวจโดยกรมการแพทย์
33
คนพิการทุกประเภทมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
สถานการณ์ ปี 2557 เขต 11 ประเทศ แนวโน้มเขต ข้อเท็จจริง - จะสำรวจโดยกรมการแพทย์
34
ความเชื่อมโยงตัวชี้วัด 3 ระดับ : วัยสูงอายุ ประเทศ (สภาวะสุขภาพ)
ประเทศ (สภาวะสุขภาพ) เขตสุขภาพ (การบริหารระบบ) จังหวัด (ปฏิบัติการคุณภาพ) พฤติกรรมที่พึงประสงค์ คนพิการมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น -ตำบล LTC /DHS -การบูรณาการระบบดูแล ผู้ป่วย Stroke / พิการของเขต - สภาพแวดล้อมของสถานบริการ -การคัดกรอง กาย/ใจ ระบบบริการครบวงจรของสถานบริการ ผู้พิการขาขาดได้รับการดูแล Board ผสอ. /สภา ผสอ ข้อมูล / ระบบ M&E KM / สื่อสาร มฐ.บริการ: PCA/CPG อปท.เข้มแข็ง/ตำบลจัดการ
35
แผนเร่งรัด ปี2558 กลุ่มวัย กิจกรรม แม่และเด็ก
- การพัฒนามาตรฐานการดูแลหญิงตั้งครรภ์ - การติดตามประเมินการใช้ DSPM - การเร่งรัด รพสต.สายใยรัก ฯ ตำบลนมแม่เพื่อสายใยรักฯ วัยเรียน - การจัดตั้งกรรมการเขต - การพัฒนาทีมประเมินรับรองมาตรฐานระดับจังหวัด - การติดตามประเมินระบบบริการดูแลช่วยเหลือภาวะบกพร่องการเรียนรู้ในเด็ก ป.1 วัยรุ่น - บทบาท กรรมการเขต
37
ความคาดหวังของ เครือข่าย ที่ 11
เด็กทุกคนได้รับการ เฝ้าระวัง และส่งเสริมพัฒนาการอย่างครอบคลุมและต่อเนื่อง ค้นหาเด็กที่มีพัฒนาการล่าช้าให้ได้มากที่สุด เด็กที่มีพัฒนาการล่าช้า ได้รับการช่วยเหลือ อย่างทันท่วงที และมีประสิทธิภาพ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กโดยผู้ปกครอง & อสม.มีส่วนร่วม จนท.สธ. แนะนำ และประเมิน คัดกรอง เมื่อเด็กอายุ 9,18,30 และ 42 เดือน
38
ROAD MAP การดำเนินงาน “DSPM”
กิจกรรม เป้าหมาย ระยะเวลา พัฒนาศักยภาพ จนท. ทุกระดับ 7 จังหวัด ปี 2557 อบรม อสม. โดย รพสต. 74 อำเภอ 2557 สนับสนุน คู่มือ สำหรับผู้ปกครอง 500,000 เล่ม เริ่ม สค. 2557 พื้นที่ ดำเนินการตามขั้นตอน ทุก รพ.,รพสต เริ่ม สค.2557 ติดตามผลการดำเนินงานครั้งที่ 1 พย.57 ประชุม กรรมการพัฒนาการเด็ก ระดับเขต ธค.57 ประเมินผล การใช้ เครื่องมือ “DSPM” มค.-กพ 58 วิเคราะห์สรุปผล มีค.58
39
โครงการพัฒนาระบบบริการเชิงรุกคัดกรองเด็กวัยเรียน ที่มีภาวะบกพร่องทางด้านการเรียนรู้
วัตถุประสงค์ เพื่อค้นหาเด็กวัยเรียนที่มีภาวะเสี่ยงต่อการเกิดภาวะบกพร่องทางด้านการเรียนรู้ในเขต11 เพื่อพัฒนาคุณภาพระบบบริการและส่งต่อของสถานบริการ เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้สถานศึกษามีระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนที่เข้มแข็ง กลุ่มเป้าหมาย นักเรียน ป.1 เทอม2 ทุกคนทุกสังกัดโรงเรียน
40
ROAD MAP การดำเนินงานโครงการพัฒนาระบบบริการเชิงรุกคัดกรองเด็กวัยเรียนที่มีภาวะบกพร่องทางด้านการเรียนรู้ กิจกรรมดำเนินงาน เป้าหมาย ระยะเวลา 1.ประสานความร่วมมือ ผู้บริหาร. สพป. 13 เขต 16ต.ค. 57 2.ประชุมพัฒนา ครู ก. รพช. รพท.รพศ./100 24ต.ค. 57 3. ประชุมพัฒนาครู ข. ครู / จนส. /2300 คน พ.ย.57 4. สนับสนุนแบบคัดกรอง 60,000 ชุด 5. สนับสนุนค่าบริการ ครู 20 บาท /คน 60,000 คน พ.ย.–ธ.ค. 57 6. ประชุมพัฒนาระบบส่งต่อ กุมารแพทย์/จิตเวชเด็ก พ.ย. 57 7. ติดตามประเมิน 74 อำเภอ ม.ค.-ก.พ.58 8. พัฒนาระบบฐานข้อมูลบริการ ต.ค.57-ก.พ.58 9.วิเคราะห์สรุปผล มี.ค.58
41
โครงการคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ
เป้าหมาย ผู้สูงอายุทุกคน คัดกรองตามโปรแกรมการเฝ้าระวัง การดำเนินงาน จัดทำฐานข้อมูลผู้สูงอายุทุกคน ดำเนินการตามแผน สรุปผล คืนกลับข้อมูล
42
ขอบคุณ ที่ตั้งใจนำไปใช้
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.