ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
แพทย์หญิงปิยนิตย์ ธรรมาภรณ์พิลาศ
ความก้าวหน้าแผนงาน/โครงการสำคัญ ปี และข้อเสนอทิศทางการดำเนินงาน สำนักโรคติดต่อทั่วไป โดย แพทย์หญิงปิยนิตย์ ธรรมาภรณ์พิลาศ 18 พฤษภาคม 2555
2
ข้อเสนอทิศทางการดำเนินงานโรคติดต่อระหว่างสัตว์และคน
โรคพิษสุนัขบ้า กำหนดเป้าหมายไม่ให้เกิดโรคในคนภายในปี 2558 และไม่ให้เกิด โรคในสัตว์ภายในปี 2561 ให้ความสำคัญกับการสร้างพื้นที่ปลอดโรคพิษสุนัขบ้า โดยเน้นการ ทำงานร่วมกันของกรมควบคุมโรค กรมปศุสัตว์ กรมส่งเสริมการ ปกครองท้องถิ่น ผลักดันให้เกิดการเร่งรัดการฉีดวัคซีนในสัตว์
3
ผลการดำเนินงาน (6 เดือนแรก ปีงบประมาณ 2555)
แผนงาน/เป้าหมาย ค่าเป้าหมาย ผลการดำเนินงาน (6 เดือนแรก ปีงบประมาณ 2555) โรคติดต่อระหว่างสัตว์และคน 1 โรคพิษสุนัขบ้า : กำจัดโรคพิษสุนัขบ้าให้หมดไปจากประเทศไทยภายในปี พ.ศ.2563 1.1 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีโครงการ/แผนงาน/กิจกรรมการสร้างพื้นที่ปลอดโรคพิษสุนัขบ้าเพิ่มขึ้นอย่างน้อย ร้อยละ 10 เพิ่มขึ้นอย่างน้อย ร้อยละ 10 ร้อยละ 20
4
พื้นที่ปลอดโรคพิษสุนัขบ้า ปี 2554
ผลการประเมิน พื้นที่ปลอดโรคพิษสุนัขบ้า ปี 2554
5
โรคพิษสุนัขบ้า สถานการณ์ เป้าหมายลดโรค
1. ไม่ให้เกิดโรคในคนภายในปี 2558 2. ไม่ให้เกิดโรคในสัตว์ภายในปี 2561 3. ประเทศไทยประกาศเขตปลอดโรค พิษสุนัขบ้า ปี 2563
6
ศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค (2554-2556)
สถานการณ์ปัญหา มีเด็กก่อนวัยเรียนเกือบ 4 ล้านคน 50% ของเด็กฝากเลี้ยงในศูนย์ กลุ่มเป้าหมาย : ศูนย์เด็กเล็กที่สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เป้าหมายปี 2556 : ร้อยละ 100 ของศูนย์เด็กเล็กในพื้นที่เข้าระบบศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค
7
ความก้าวหน้าการดำเนินงาน โครงการศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค ปี 2555
เป้าหมาย (outcome) / Proxy Indicator เป้าหมาย ปี 55 ผลการดำเนินงาน (6 เดือนแรก ปีงบประมาณ 2555) ศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค 1 ศูนย์เด็กเล็กเข้าร่วมโครงการ ร้อยละ 60 ร้อยละ 57.4 (10,990 แห่ง) 2 ศูนย์เด็กเล็กที่เข้าร่วมโครงการผ่านเกณฑ์ประเมิน ร้อยละ 50 ร้อยละ 33 (ปี 2554) ปี 2555 อยู่ระหว่างการประเมิน
8
โครงการควบคุมโรคหนอนพยาธิตามพระราชดำริฯ
โครงการพระราชดำริฯ ดำเนินการ ตั้งแต่ปี ภายใต้แผนพัฒนา เด็ก และเยาวชนในถิ่นทุรกันดาร ของสำนักพระราชวัง เป้าหมายลดโรค ความชุกโรค หนอนพยาธิในพื้นที่ถิ่นทุรกันดาร ให้ ลดเหลือ ร้อยละ 5 ในปี 2559 เป้าหมายการดำเนินงานปี 2556 ครอบคลุม 51 จังหวัดทั่วประเทศ
9
ให้สุขศึกษาในโรงเรียน
กรอบดำเนินการในงานควบคุมโรคหนอนพยาธิในนักเรียน เยาวชน ในถิ่นทุรกันดารและพื้นที่ในแผนภูฟ้าพัฒนาตามพระราชดำริฯ ปี ให้สุขศึกษาในโรงเรียน และชุมชน ตรวจอุจจาระ นักเรียนทุกคน ให้การรักษา ครั้งที่ 1 สนับสนุนชุดความรู้ นิเทศงาน ให้การรักษา ครั้งที่ 2 ประเมินผล โครงการฯ 2550
10
ข้อเสนอทิศทางการดำเนินงานโครงการควบคุม โรคหนอนพยาธิ
ดำเนินการต่อเนื่องโครงการควบคุมโรคหนอนพยาธิตามพระราชดำริฯ สนับสนุนการดำเนินงานลดโรคพยาธิใบไม้ในตับภาคอีสาน ในกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ
11
การพัฒนาสมรรถนะช่องทางเข้าออกประเทศ ตามกฎอนามัยระหว่างประเทศ พ.ศ.๒๕๔๘
กรอบเวลาการดำเนินงานตาม IHR 2005 2550 2552 2555 2557 2559 ประเมินแผน ดำเนินการพัฒนา WHO ประเมิน 2 ปี (ประเมินแผน) + 3 ปี (ดำเนินการ) + 2 ปี (ขยายเวลาครั้งที่ 1) + 2 ปี (ขยายเวลาครั้งที่ 2) “ให้ดำเนินการให้เร็วที่สุดเท่าที่จะทำได้ แต่ต้องไม่นานกว่า 5 ปี นับจากวันรับปฏิบัติ …"(มาตรา 5, 13) 11 11
12
ผลการดำเนินงาน (6 เดือนแรก ปีงบประมาณ 2555)
เป้าหมาย (outcome) / Proxy Indicator แผน ผลการดำเนินงาน (6 เดือนแรก ปีงบประมาณ 2555) ไม่มีการแพร่ระบาดของโรคติดต่อสำคัญระหว่างประเทศเข้ามาภายในราชอาณาจักรไทย ช่องทางเข้าออกประเทศ ได้รับการติดตามและสนับสนุนการพัฒนาสมรรถนะตามข้อกำหนดของกฎอนามัยระหว่างประเทศ พ.ศ.2548 18 แห่ง (ปี 54 : 4 แห่ง ปี 55 : 14 แห่ง) ปีงบ 2554 : ได้ติดตามและสนับสนุนฯ แล้วจำนวน 4 ช่องทาง (ท่าอากาศยานภูเก็ต กระบี่ ท่าเรือกรุงเทพ และพรมแดนอรัญประเทศ) ปีงบ 2555 : ได้รับการติดตามและสนับสนุน จำนวน 4 ช่องทาง :ท่าอากาศยานเชียงใหม่ ท่าเรือภูเก็ตพรมแดนสะเดา ปาดังเบซาร์
13
ข้อค้นพบจากการติดตามการดำเนินงานพัฒนาสมรรถนะ ช่องทางเข้าออกประเทศฯ และข้อเสนอทิศทาง
ควรประสานความร่วมมือระหว่างด่านฯและหน่วยงานในช่องทางฯ ควรเร่งวางแผนการจัดอัตรากำลังของบุคลากรประจำด่าน ฯให้เพียงพอ ( ภายใน 4-5 ปี จะมีบุคลากรเกษียณอายุถึงร้อยละ 20 , สคร.ต้องวางแผนการหมุนเวียนบุคลากรให้สามารถปฏิบัติงานที่ด่านฯได้) สคร.ควรมีแผนฯ/งบประมาณ เพื่อรองรับการเตรียมพร้อมรับภาวะ ฉุกเฉินฯของด่านฯ (รวมถึงความพร้อมด้านlogistics ) ควรพัฒนาบุคลากรประจำด่านฯให้มีทักษะด้านการปฏิบัติงานให้มากขึ้น
14
การเตรียมความพร้อมตอบโต้ ภาวะฉุกเฉิน ด้านโรค และภัยสุขภาพ ปี 2555
1. พัฒนาศักยภาพบุคลากรของกรมควบคุมโรคให้มีสมรรถนะ ด้านการประเมินความเสี่ยง 2. จัดทำแผนประคองกิจการ(BCP) ระดับกรม 3. จัดทำมาตรฐานการปฏิบัติงาน (SOP) การเตรียมพร้อมตอบโต้ภาวะฉุกเฉินและส่งกำลังบำรุง (ระดับกรม) 4. จัดทำมาตรฐานศูนย์พักพิง (กรณีอุทกภัย โดยการบูรณาการร่วมกับกรมอนามัย นำร่องในพื้นที่ กรุงเทพฯ ร่วมกับ สคร.1) แผน 5. ประสานและเตรียมซ้อมแผนตอบโต้ภาวะฉุกเฉินฯ หมอกควัน & สึนามิ
15
ผลการดำเนินงาน (6 เดือนแรก ปีงบประมาณ 2555)
เป้าหมาย (outcome) / Proxy Indicator แผน ผลการดำเนินงาน (6 เดือนแรก ปีงบประมาณ 2555) การเตรียมความพร้อมตอบโต้ภาวะฉุกเฉินด้านโรคและภัยสุขภาพ จำนวนหน่วยงานที่มีกลไกและขั้นตอนการบริหารจัดการการเตรียมความพร้อมและการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินด้านโรคและภัยสุขภาพแบบบูรณาการตามเกณฑ์ที่กำหนด 14 หน่วยงาน 19 หน่วยงาน แบ่งเป็น ส่วนกลาง 7 หน่วยงาน ส่วนภูมิภาค 12 หน่วยงาน
16
ข้อเสนอทิศทางการดำเนินงาน
การพัฒนาระบบ PHEM ทุกหน่วยงานในกรมควบคุมโรค ให้มีความ พร้อมในการบริหารจัดการเตรียมความพร้อมและการตอบโต้ภาวะ ฉุกเฉินฯ พัฒนาระบบ PHEM ให้เชื่อมต่อกับหน่วยงานอื่นๆทั้งในและนอก กระทรวงสาธารณสุข
17
การดำเนินงานแผนงานป้องกัน ควบคุมโรคติดต่อ ที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน ปี 2555
ภาพรวมของระดับความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนขั้นพื้นฐานในเด็ก อายุครบ 2 ปี ระดับประเทศอยู่ในเกณฑ์ดี (เกินกว่าร้อยละ 90) แต่รายพื้นที่ บางแห่งยังไม่สามารถดำเนินการได้ตามเป้าหมาย การประเมินมาตรฐานการดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค พัฒนาแผนการให้บริการวัคซีนชนิดใหม่ และกลุ่มเป้าหมายใหม่ (วัคซีนโรต้า, JE เชื้อเป็น, กลุ่มบุคลากร) มีการรณรงค์ให้วัคซีนในโครงการกวาดล้างโปลิโอและโรคหัด
18
โรคติดต่อทางอาหารและน้ำ
เน้นการเตรียมความพร้อมร่วมกับเครือข่ายในการป้องกันโรคล่วงหน้า และเตรียมพร้อมรับการระบาดของอหิวาตกโรคในพื้นที่เสี่ยง เตรียมความพร้อมในการนำวัคซีนป้องกันอหิวาตกโรคชนิดรับประทาน ( OCV) มาใช้ในพื้นที่พักพิงชั่วคราวผู้หนีภัยการสู้รบบ้านแม่หละ จังหวัดตาก Maintain กิจกรรมป้องกันโรคอาหารเป็นพิษ และอุจจาระร่วงเฉียบพลัน
19
สวัสดี 19
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.