ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยTulathorn Wattanasin ได้เปลี่ยน 9 ปีที่แล้ว
1
เพื่อช่วยหาความสัมพันธ์ของ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง และกำหนด เขตของพื้นที่เป้าหมาย และ ขอบเขตงาน รูปแบบ เดิม แผ่นใส ซ้อนทับ ปัจจุบัน GIS
2
1. กำหนดวัตถุประสงค์ เพื่อ... 2. กำหนดขอบเขตพื้นที่ 3. รวบรวมข้อมูลมือสอง - ข้อมูลเชิงพรรณนา - แผนที่ - สถิติ / ตัวเลข 4. นำมาจัดหมวดหมู่ - กายภาพ - ชีวภาพ - เศรษฐกิจ - สังคม - สิ่งแวดล้อม 5. เก็บข้อมูลมือหนึ่ง ( เพิ่มรายละเอียดให้มากขึ้น )
3
1. การกระจายตัว (Space/Structure) 2. การเปลี่ยนแปลง (Time) 3. การเคลื่อนย้าย ไหลเวียน (Flow) ปัจจัยในชุมชน 4. การตัดสินใจ (Decision Making) ทำอะไร.............. เช่นจะกำจัดวัชพืชหรือพ่นสารเคมี มะม่วง...... ต้องรอใส่ปุ๋ยข้าวก่อน ?????
4
ลำดับชั้นการวิเคราะห์พื้นที่เพื่อวินิจฉัยปัญหา ดัดแปลงจากวิริยะ 2531 วิเคราะห์ เขต 1. เขต 2. เขต 3. เขต 4. เขต 5. ครัวเรือน ( ประเภท 1.) วิเคราะห์ หมู่บ้าน ( ชุมชน ) พื้นที่ วิเคราะห์ ครัวเรือน ( ประเภท 2.) ครัวเรือน ( ประเภท 3.) ครัวเรือน ( ประเภท 4.) เกษตร นอกเกษตร วิเคราะห์ อาชีพ ข้าว พืชไร่ เลี้ยงสัตว์ อื่นๆ รับจ้าง ค้าขาย อื่น ๆ วิเคราะห์ กิจกรรม กระบวนการผลิต
5
ถั่วลิสง วิธีการดั้งเดิม มันสำปะหลัง เทคโนโลยี (a) พืชเดี่ยว ( มันสำปะหลัง ) (b) การปลูกพืชระหว่างมันสำปะหลังกับถั่วลิสง ( ระหว่างแถว ) (c) การปลูกพืชผสมระหว่างมันสำปะหลังกับถั่วลิสง ( ภายในแถวเดียวกัน ) 9 ข้าว
6
10 23356789 1112 12345 กำจัดวัชพืช มันสำปะหล้ง ปักดำ ข้าว ช่วงที่ใช้แรงงาน มันสำปะหลัง ( ที่ดอน ) ข้าว ( พื้นที่นา ) เดือน ม. ค. ก. พ. มี. ค. เม. ย. พ. ค. มิ. ย. ก. ค. ส. ค. ก. ย. ต. ค. พ. ย. ธ. ค. ม. ค. ก. พ. มี. ค. เม. ย.
7
11 ม. ค. 2 ก. พ. 3 มี. ค. 4 เม. ย. 5 พ. ค. 6 มี. ค. 7 ก. ค. 8 ส. ค. 9 ก. ย. 10 ต. ค. 11 พ. ย. 12 ธ. ค. 1 ม. ค. 2 ก. พ. 3 มี. ค. 4 เม. ย. 5 กำจัดวัชพืช มันสำปะหลัง ปักดำ ข้าว ช่วงที่ใช้แรงงาน มันสำปะหลัง + ถั่วลิสง ( ที่ดอน ) ข้าว ( พื้นที่นา ) ถั่วลิสง เดือน
8
การวิเคราะห์เพื่อแก้ปัญหาของ กิจกรรม ดำเนินการร่วมกับเกษตรกร ต้องวิเคราะห์ลงลึกในรายละเอียดว่ากิจกรรมดังกล่าวมีปัญหา อย่างไร ? เกิดปัญหาเพราะมีปัจจัยข้อจำกัดอะไรบ้างทั้งภายในและภายนอก ครัวเรือน ? ต้องวิเคราะห์กระบวนการผลิตของกิจกรรมว่ามีปัญหาที่ขั้นตอน ไหนของ กระบวนการ ? นิยมใช้วิธีการที่เกษตรกรสามารถวิเคราะห์หาปัญหาด้วยตนเอง (Participatory Rural Appraisal ฯลฯ )
9
1. สร้างบรรยากาศเป็นกันเอง พูดคุยถึงสภาพ การเกษตรทั่วๆไป ( การปลูกพืช / เลี้ยงสัตว์ / ระบบ การปลูกพืช ) 2. ข้อมูลทั่วไปของสภาพพื้นที่ ที่ลุ่ม ที่ดอน ลักษณะ ดิน ดินร่วน ดินทราย หรือดินเหนียว การตกของ ฝน 3. การปลูกพืชของเกษตรกร ตั้งแต่เตรียมพันธุ์ เตรียมดิน จนถึงเก็บเกี่ยว หรือการแปรรูป 4. ให้เกษตรกรบอกเล่าเหมือนพูดคุยและมีคนกำลัง ช่วยแก้ปัญหาของเขา 5. ให้เกษตรกรลองทบทวนด้วยตนเองว่า ปัญหา น่าจะเกิดจากอะไร และอยู่ ขั้นตอนไหนของการผลิต 6. สังเกต ปัญหาที่เกษตรกรพบ และวิธีการ แก้ปัญหาของเกษตรกร รวมถึงการตัดสินใจ (Decision Making) ทำอะไร
10
การประเมินผลการทดสอบ ในช่วงแรกมีการอิงการวิเคราะห์ทางสถิติกันมาก แต่ภายหลังมัก มักนิยมเปรียบเทียบผลโดยใช้การวิเคราะห์ทางสถิติแบบง่าย และใช้ความเห็นของเกษตรกรเป็นหลัก การประเมินผลทางสถิตินั้นอาจไม่บอกเงื่อนไขความสำเร็จของ เทคโนโลยีที่อาจเกิดขึ้น ( กรณี มีผู้ทำสำเร็จ 1 ราย มีผู้ทำล้มเหลว 9 ราย จะสรุปว่า อย่างไร ?) มีการสรุปประเด็นเงื่อนไขของความสำเร็จและล้มเหลวของ เกษตรกรที่ทำการทดสอบแต่ละราย แล้ววางแผนทดสอบ เพิ่มเติมในฤดูปลูกต่อไป
11
งานวิจัยระบบการทำ ฟาร์ม เป็นเพียง “ แนวทางหรือแนวคิด “ ไม่ใช่ตัว เทคโนโลยีเองโดยตรง แต่เป็นแนวทางที่ต้องนำมาใช้เพื่อพัฒนา เทคโนโลยีร่วมกับเกษตรกร ให้สอดคล้องกับสภาพความเป็นจริงในฟาร์ม (farm) และ ทรัพยากรครัวเรือนของเกษตรกร ภายใต้ เงื่อนไขสิ่งแวดล้อม และเป้าหมายการผลิตของเกษตรกร แต่มีการกำหนดขั้นตอนการทำงานวิจัย และส่งเสริม ระบบการทำฟาร์ม
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.