งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

รัฐ สังคม และการเปลี่ยนแปลง

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "รัฐ สังคม และการเปลี่ยนแปลง"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 รัฐ สังคม และการเปลี่ยนแปลง
รัฐ สังคม และการเปลี่ยนแปลง ความสัมพันธ์เชิงอำนาจ อำนาจด้านนโยบาย รัฐ – AUTHORITY ประชาชน-BARGAINING POWER 3 ประเด็น รัฐกับกลุ่มคนในสังคม รัฐใช้อำนาจอย่างไร เพื่อวัตถุประสงค์ใด รัฐกับ กลุ่มคนในสังคมสมัยใหม่ จัดระเบียบ แทรกแซง เปิดโอกาส ความสัมพันธ์เปลี่ยนแปลงหรือไม่ อย่างไร ดร. พงษ์ศานต์ พันธุลาภ

2 รัฐ และสังคมในแง่อำนาจ
Social power Social network State policy พัฒนาการของรัฐและสังคม - Society – Totality - The ruler – The Governed - Political Society ดร. พงษ์ศานต์ พันธุลาภ

3 Polis City State Society Political Man – Public > Private
Greek + Roman ERA Polis City State Society Political Man – Public > Private Society State Roman Empire Military Only not Society as a Whole Christianity – Spiritualism VS. Materialism Individualism – Public VS. Private Affairs – Society - State ดร. พงษ์ศานต์ พันธุลาภ

4 รัฐ และสังคมยุคกลาง St. Augustine – City of God
State VS. Christendom. Decentralization Theories of Dyarchy Doctrine of the Two Powers-Gelasius I Doctrine of the Nature of Temporal End St. Thomas Aquinas - State –Law – Morality- Religion - Christendom – Religion – Culture – Ethics Education ดร. พงษ์ศานต์ พันธุลาภ

5 16C Nation-State + Capitalism Modern Society
14C Boniface VIII The Church Supremacy 16C Nation-State + Capitalism Modern Society The Renaissance, The Commercial Revolution, The Reformation Absolutist State, Commercial Capitalism The Holy Roman Empire ดร. พงษ์ศานต์ พันธุลาภ

6 Individualism Trade, Production Capitalism 16C. New World
Short-Term Happiness Individualism Trade, Production Capitalism 16C. New World Mass Production – Putting –Out System Guild System - Money – Bank – Transfer Loan Knights King Tax + Profit 16C. Martin Luther - Protestant Christendom King Absolutist State ดร. พงษ์ศานต์ พันธุลาภ

7 Capitalist Development 18-19 C. Bourgeoisie VS. Proletariat
People for State Sovereignty Capitalist Development C. Bourgeoisie VS. Proletariat Constitutional State, Civil Society Good Society – Law + Order + Peace Organized Groups – Liberty – No State Intervention ดร. พงษ์ศานต์ พันธุลาภ

8 การแสวงหารูปแบบความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างรัฐและสังคม : จากอารยสังคมสู่ประชาสังคม
ดร. พงษ์ศานต์ พันธุลาภ

9 ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐและสังคม 5 กระแส กระแสที่ 1
ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐและสังคม 5 กระแส กระแสที่ 1 รัฐควรมีอำนาจในการควบคุมดูแลสังคมอย่างใกล้ชิด -- ขาดระเบียบแต่มีความขัดแย้ง สังคมที่ดี สังคมที่อยู่ใต้อำนาจรัฐและปฏิบัติตามกฎหมายของรัฐ Bodin ปลายศตวรรษที่ Hobbes ศตวรรษที่ 17 Spinoza กลาง ศตวรรษที่ 17 (the security state) Leviathan (1615) Hobbes อำนาจอธิปไตยให้แก่ผู้ถืออำนาจรัฐ อำนาจสูงสุดจึงอยู่ในมือของรัฐ ประชาชน (Subject) ดร. พงษ์ศานต์ พันธุลาภ

10 กระแสที่สอง Locke สังคม ตามธรรมชาติ ไม่ได้มีสภาพเลวร้าย
ต้องมีการจัดระเบียบ รัฐมีฐานะเป็นเพียงเครื่องมือ ของสังคม ผู้คนในสังคมยอมรับอำนาจรัฐ ต้องการพ้นจากความไม่สะดวกสบายในภาวะธรรมชาติ รัฐจึงมีหน้าที่ กำจัดปัญหาที่จะก่อผลเสียต่อสิทธิเสรีภาพ ดร. พงษ์ศานต์ พันธุลาภ

11 Locke สะท้อน ความรู้ เป็นปฏิปักษ์ ต่อการใช้อำนาจอย่างไร้ขีดจำกัดของผู้ครอบอำนาจรัฐ ปฏิวัติอุตสาหกรรมในศตวรรษที่ เรียกร้อง เสรีภาพทางเศรษฐกิจ Physiocrat ปัจเจกชนมีสิทธิตามธรรมชาติที่จะรับผลประโยชน์จากแรงงาน รัฐไม่ควรแทรกแซงกิจกรรมของคนในสังคมในทุกด้านยกเว้น ชีวิตและทรัพย์สิน ปกป้องเสรีภาพ ทำสัญญาของเอกชน ให้เอกชนมีเสรีภาพในการประกอบการอย่างเต็มที่ ภายในและภายนอกประเทศ ดร. พงษ์ศานต์ พันธุลาภ

12 กระแสที่สาม ปรปักษ์ต่อรัฐ แยกรัฐออกจากสังคม
ปรปักษ์ต่อรัฐ แยกรัฐออกจากสังคม ปลายศตวรรษที่ 18 ถึงต้นศตวรรษที่ 19 Paine, Spencer Paine สังคม ธรรมชาติ ดีอยู่แล้ว เพราะมนุษย์ ร่วมมือกัน อย่างสันติ แลกเปลี่ยนผลประโยชน์ พึ่งพาอาศัยกัน จะทำให้สังคมดีขึ้น ตบแต่ง สังคม รับมอบฉันทะ ให้ใช้อำนาจของสังคม ที่เป็นประโยชน์ต่อส่วนรวม สังคมเจริญขึ้น รัฐก็ยิ่งมีความจำเป็นต่อสังคมน้อยลง รัฐจึงเป็นเพียงสิ่งชั่วร้ายที่จำเป็นเท่านั้น ดร. พงษ์ศานต์ พันธุลาภ

13 สังคมที่ดี อำนาจรัฐควรจะมีอยู่อย่างจำกัดที่สุด อำนาจเป็นของประชาชน ประชาชนมีสิทธิที่จะเรียกอำนาจคืนจากรัฐเมื่อใดก็ได้ (The minimum State) สังคมมีบทบาทในการควบคุมการใช้อำนาจของรัฐอย่างใกล้ชิด เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดระบบเผด็จการขึ้น การเผชิญหน้ากันระหว่างรัฐที่มีอำนาจล้นพ้นกับกลุ่มคนที่ต้องการมีสิทธิเสรีภาพอย่างเต็มที่ในยุคนั้น กระแสความคิดเสรีนิยมที่ต่อต้านอำนาจรัฐ เติบโตขึ้นอย่างต่อเนื่อง ดร. พงษ์ศานต์ พันธุลาภ

14 กระแสความคิดที่สี่ Hegel ต้นศตวรรษที่ 19 สังคม วางระเบียบด้านจริยธรรม สังคมคือผลิตผลทางประวัติศาสตร์ กลุ่มผลประโยชน์และสถาบันต่างๆ รักษาระเบียบและสวัสดิการของประชาชน เสรีภาพของสังคม พัฒนาการของรัฐ รักษาความเป็นอิสระของสังคม ความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน เสรีภาพในสังคมจะมีอยู่ เมื่อสังคมอยมรับอำนาจรัฐ และอยู่ใต้การบังคับบัญชาของรัฐ ดร. พงษ์ศานต์ พันธุลาภ

15 Hegel ต่อต้านการแยกสังคมออกจากรัฐ ปฏิกิริยา ต่อปัญหาต่างๆของสังคมในระบบทุนนิยม สังคม เป็น สมรภูมิ แย่งชิงผลประโยชน์ ไร้ทิศทาง ทำลายตัวเอง กลุ่มคนที่ก่อปัญหา พวกกฏุมภี และกรรมกร ปัจเจกนิยม ผลประโยชน์ส่วนตัวโดยไม่คำนึงกฏเกณฑ์ของสังคม ดร. พงษ์ศานต์ พันธุลาภ

16 กลุ่มคนดังกล่าวมุ่งแสวงหาความร่ำรวย ไม่สนใจปัญหาบ้านเมือง หรือรับผิดชอบต่อส่วนรวม ความขัดแย้งอย่างรุนแรง หลีกเลี่ยงได้ยาก รัฐจำเป็นต้องคอยตรวจสอบและดูแลสังคม ส่งเสริมผลประโยชน์และเสรีภาพของคนส่วนใหญ่ ดร. พงษ์ศานต์ พันธุลาภ

17 ปลายศตวรรษที่ 19 ระบบอำนาจเผด็จการโดยรัฐที่ดี (Benevolent despotism)
Bentham ในอังกฤษ และ Sismondi ในฝรั่งเศส สะท้อนถึงการเสื่อมอิทธิพลของแนวคิดเสรีนิยม ปลายศตวรรษที่ 19 ระบบอำนาจเผด็จการโดยรัฐที่ดี (Benevolent despotism) ความสัมพันธ์ที่พึงปรารถนาระหว่างรัฐและสังคม พัฒนามาเป็นกระแสความคิดแบบประชาสังคม สังคมแก้ปัญหาของตนเอง และตรวจสอบการทำงานของรัฐ สังคมจัดระเบียบตัวเอง มีสิทธิของตนเองที่ค้ำประกันโดยกฎหมาย ไม่ต้องพึ่งพารัฐโดยตรง ปฏิกริยาที่มีต่อการขยายบทบาทรัฐ ดร. พงษ์ศานต์ พันธุลาภ

18 Tocqueville การเปิดโอกาสให้รัฐเข้ามาแก้ไขปัญหา นักอุตสาหกรรมสร้างขึ้นแก่สังคม เกิดระบบอำนาจเผด็จการโดยรัฐสมัยใหม่ ข้ออ้างสวัสดิการและความเป็นธรรมในสังคม ใช้กระบวนการประชาธิปไตยเป็นเครื่องมือ ประชาชน เป็นเพียงผู้อยู่ใต้ปกครองที่วางเฉย หมกมุ่นอยู่แต่เรื่องส่วนตัว ปล่อยให้ชะตากรรมของตนเองขึ้นอยู่กับความเมตตาของรัฐ ดร. พงษ์ศานต์ พันธุลาภ

19 ทางออก สังคมให้มีเสรีภาพและความเสมอภาค โดยไม่เปิดโอกาสให้รัฐเข้ามาควบคุม ไม่ใช่ด้วยการทำลายสถาบันต่างๆของรัฐ การใช้กลไกหลายๆด้านป้องกันไม่ให้เกิดอำนาจรัฐที่รวมศูนย์ การแบ่งแยกอำนาจ การจัดให้มีการเลือกตั้งบ่อยๆ การมีฝ่ายตุลาการที่มีความเป็นอิสระ ดร. พงษ์ศานต์ พันธุลาภ

20 Tocqueville เชื่อว่า กลไกทางสังคมสำหรับควบคุมรัฐคือ กลุ่มประชาชน ในรูปของสมาคมต่างๆ ผลักดันให้เกิดเสรีภาพ ขัดขวางการใช้อำนาจเผด็จการของรัฐ ร่วมมือกันแก้ปัญหาต่างๆ กลุ่มก็ควบคุมซึ่งกันและกัน สังคมที่ดีหรือเป็นอารยสังคม ได้แก่ สังคมที่มีกลุ่มหลากหลาย จัดระเบียบตัวเองได้ สังคมที่สามารถดูแลคนเองและแยกออกจากรัฐได้อย่างชัดเจน สังคมประชาธิปไตย ดูแลตนเองและตรวจสอบการใช้อำนาจของรัฐ ดร. พงษ์ศานต์ พันธุลาภ

21 พัฒนาการสำคัญ รัฐและสังคมได้แบ่งแยก บทบาทและหน้าที่ รัฐธรรมนูญหรือกฎหมายพื้นฐานเพื่อค้ำประกันสิทธิเสรีภาพของประชาชน รวมทั้งกำหนดขอบเขตอำนาจหน้าที่ของรัฐ ปลายศตวรรษที่ 19 ถึงต้น ศตวรรษ 20 ประชาชนได้มีส่วนร่วมทางการเมืองมากขึ้น ระบบรัฐสภาและระบบพรรคการเมืองได้กลายเป็นกลไกหลัก นำเอาข้อเรียกร้องของประชาชนมาเปลี่ยนเป็นนโยบาย ดร. พงษ์ศานต์ พันธุลาภ

22 การขยายสิทธิเสรีภาพทางการเมืองเกิดขึ้นในเวลาเดียวกันที่สังคมตะวันตกกำลังเผชิญกับปัญหา ระบบทุนนิยมอุตสาหกรรม แนวคิดสังคมนิยมจึงเป็นปฏิกิริยาตามมา ขบวนการปฏิรูปสังคม ผลักดันนโยบายสังคมของรัฐ รัฐกับสังคมในรูปแบบใหม่ ประชาชนมีสิทธิและบทบาทตามกฎหมายในการผลักดันนโยบายของรัฐ และรัฐมีภารกิจที่จะต้องตอบสนองความต้องการของประชาชนเพื่อรักษาความชอบธรรมในการครองอำนาจ ในกรอบของกฎหมาย ตั้งแต่ต้นศตวรรษที่ 20 ดร. พงษ์ศานต์ พันธุลาภ

23 ลักษณะของรัฐและประชาสังคมในสังคมสมัยใหม่
พัฒนาการของรัฐและสังคม ในศตวรรษที่ 20 ความสัมพันธ์เชิงอำนาจ ระหว่างสังคมตะวันตกและสังคมอื่นๆ การล่าเมืองขึ้น การครอบงำด้านเศรษฐกิจ วัฒนธรรม และการเมืองโดยสังคมตะวันตก ผลักดัน รัฐและสังคมสมัยใหม่ ดร. พงษ์ศานต์ พันธุลาภ

24 ลักษณะของรัฐสมัยใหม่ รัฐสมัยใหม่มีลักษณะสำคัญ 5 ประการ
ลักษณะของรัฐสมัยใหม่ รัฐสมัยใหม่มีลักษณะสำคัญ 5 ประการ 1. รัฐเป็นสถาบันที่รับรู้กันว่ามีสภาพเป็นเอกเทศ ภาครัฐและภาคเอกชน 2. รัฐเป้นผู้มีอำนาจอธิปไตย สูงสุดภายในดินแดน 3. อำนาจอธิปไตย ครอบคลุมคนทุกคน และนำมาใช้อย่างเสมอภาค กัน 4. บุคลากรของรัฐสมัยใหม่ ระบบราชการ 5. รัฐเก็บภาษีจากประชาชน ดร. พงษ์ศานต์ พันธุลาภ

25 ในแง่ บทบาทหน้าที่ เห็นได้จากภาระหน้าที่ซึ่งสถาบันต่างๆ ของรัฐปฏิบัติ ตามเป้าหมายหรือวัตถุประสงค์ องค์การใดที่มีเป้าหมายหรือวัตถุประสงค์คาบเกี่ยวกับสิ่งที่เป็นหน้าที่ของรัฐ จะถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของรัฐ ศาสนจักรที่มีทบทบาทในการให้การศึกษาแก่เยาวชนก็จะถูกนับเป็นส่วนหนึ่งของรัฐไปด้วย ผลงานที่รัฐได้กระทำไปแล้ว ไม่ว่าภาระหน้าที่ของรัฐจะเป็นอย่างไร จะมีฐานะเป็นผู้แสดงบทบาทหลักเพียงผู้เดียว ดร. พงษ์ศานต์ พันธุลาภ

26 Hay เชื่อว่า ความเป็นรัฐสมัยใหม่ แสดงลักษณะ 3 ด้านคือ ด้านที่เป็นชาติ (state as nation) ด้านที่เป็นดินแดน (state as territory) และด้านที่เป็นสถาบัน (the state as institution) Pierson ชี้ให้เห็นว่า ลักษณะสำคัญของรัฐสมัยใหม่มี 9 ประการ คือ การควบคุมปัจจัยในการใช้ความรุนแรง การครอบครองดินแดน อำนาจอธิปไตย การปกครองตามรัฐธรรมนูญ อำนาจที่ไม่ผูกติดกับตัวบุคคล ระบบราชการ สิทธิในการใช้อำนาจตามกฎหมายและความชอบธรรม พลเมือง และการจัดเก็บภาษี ดร. พงษ์ศานต์ พันธุลาภ

27 รัฐสมัยใหม่ มีลักษณะทางภูมิศาสตร์การเมือง (geo-political entity)
รัฐสมัยใหม่ ที่มาจากการใช้อำนาจของรัฐคือ การใช้อำนาจผ่านระบบราชการ สิทธิในการใช้อำนาจตามกฎหมาย และความชอบธรรมการมีพลเมืองอยู่ใต้การปกครอง และการจัดเก็บภาษี King พัฒนาการของรัฐสมัยใหม่ นำไปสู่ลักษณะ 5 ประการ คือ Civility Plurality of foci Open-endedness controversy ดร. พงษ์ศานต์ พันธุลาภ

28 เครือข่ายความสัมพันธ์แบบประชาสังคม
Sales ประชาสังคมสมัยใหม่ มีลักษณะสำคัญดังนี้ สมาคม เชื่อมโยง ปัจเจกบุคคลกับกลุ่มคน ที่สร้างสรรค์อัตลักษณ์ หลากหลายแต่ไม่แตกแยกและเป็นพลังผลักดัน การเปลี่ยนแปลง มติมหาชน เชื่อมโยงกับรัฐ เศรษฐกิจข้ามชาติ ผูกพัน ระบอบประชาธิปไตย ดร. พงษ์ศานต์ พันธุลาภ

29 กระบวนการนโยบายสาธารณะ (Public Policy Process)
ประเวศ วะสี ดร. พงษ์ศานต์ พันธุลาภ

30 อุดมคติ 3 ประการ เป็นกระบวนการทางปัญญา เป็นกระบวนการทางสังคม
กระบวนการทางศีลธรรม ดร. พงษ์ศานต์ พันธุลาภ

31 ความเป็นจริง 3 ประการ ขาดฐานความรู้ ขาดการมีส่วนร่วมอย่างกว้างขวาง
ขาดศีลธรรม ดร. พงษ์ศานต์ พันธุลาภ

32 ความเสียหายจากนโยบาย
ในประวัติศาสตร์ ในสังคมเวียดนาม ในประเทศไทย - นโยบายขนส่ง โดยรถ 10 ล้อ - ผลประโยชน์มหาศาลกลับไปตกอยู่กับต่างชาติที่ขายรถยนต์และขายน้ำมัน - วิกฤตพลังงาน วิกฤตเศรษฐกิจ ดร. พงษ์ศานต์ พันธุลาภ

33 นโยบายอะไร เกิดขึ้นอย่างไร โดยใคร ผลกระทบของนโยบายแล้ว
นโยบายอะไร เกิดขึ้นอย่างไร โดยใคร ผลกระทบของนโยบายแล้ว นำมาสู่การเรียนรู้ร่วมกัน ของมนุษยชาติ “ใครได้ประโยชน์” ดร.พงษ์ศานต์ พันธุลาภ ๒๕๑๘ ดร. พงษ์ศานต์ พันธุลาภ

34 ไทยเป็นโรคพร่องนโยบาย 5 ประการ
ไทยเป็นโรคพร่องนโยบาย 5 ประการ ขาดการคิดเชิงนโยบายของฝ่ายวิชาการ คิดเชิงเทคนิค แต่ขาดการตั้งคำถามเชิงนโยบาย สาเหตุ 2 ประการ คือ 1. มหาวิทยาลัยแบ่งเป็นสาขาแยกย่อย การจะทำนโยบายได้ต้อง “เห็นช้างทั้งตัว” 2. มหาวิทยาลัยเน้นการสอนมากกว่าการวิจัย ดร. พงษ์ศานต์ พันธุลาภ

35 2. องค์การนโยบายทำนโยบายไม่เป็น - องค์การนโยบายมีต่างๆ กัน
2. องค์การนโยบายทำนโยบายไม่เป็น - องค์การนโยบายมีต่างๆ กัน - หน่วยงานของเราคุ้นเคยกับการใช้อำนาจมากกว่าใช้ปัญญา นโยบายที่เป็นอกุศล 3 ประการ - คอร์รัปชั่นเชิงนโยบาย ดร. พงษ์ศานต์ พันธุลาภ

36 4. ระบบการศึกษาที่อยู่นอกสังคม
4. ระบบการศึกษาที่อยู่นอกสังคม - เอา วิชา ในตำราเป็นตัวตั้ง ไม่ได้เอาความเป็นจริงของสังคมเป็นตัวตั้ง จึงอ่อนแอทางปัญญา - เพื่อนำไปสู่การ ตัดสินใจเชิงนโยบาย ว่าจะทำหรือไม่ทำอะไร 5. เป็นประดุจประเทศเครื่องหลุดออกจากกันเป็นส่วนๆ - นโยบาย - แผน - ยุทธศาสตร์ - การปฏิบัติ - การสนับสนุนการปฏิบัติ ดร. พงษ์ศานต์ พันธุลาภ

37 สังคมซับซ้อนแต่สมองเรียบ
การไม่ต้องขวนขวายมาก ไม่อ่าน ไม่คิด เรื่องที่ซับซ้อนและยาก ต้องอาศัยการอ่านไปอ่านมาทบทวนและคิด วัฒนธรรมการอ่าน การรับรู้ความจริง ดร. พงษ์ศานต์ พันธุลาภ

38 ไม่รู้อะไรจริง ไม่รู้อะไรลึก เป็นอันตรายยิ่งนัก จะถูกหลอกได้ง่ายด้วยการโฆษณาชวนเชื่อ การสร้างภาพ โมหภูมิ เกิดความยากจน การหมดศักดิ์ศรี เข้าใจผิด เกิดความขัดแย้ง ความรุนแรง ความรุนแรงเป็นเรื่องหนีไม่พ้น สังคมไทยจะต้องปรับเปลี่ยนเป็นสังคมที่รู้จริงและรู้ลึก เปิดพื้นที่ทางสังคม เปิดพื้นที่ทางปัญญาอย่างกว้างขวาง ทุกฝ่ายเข้ามามีส่วนร่วมในการตั้งโจทย์ ทำการวิจัย นำผลการวิจัยมาเรียนรู้ร่วมกัน สู่การสร้างและการใช้นโยบายสาธารณะที่ดี ดร. พงษ์ศานต์ พันธุลาภ

39 นโยบายสาธารณะที่ดี นโยบายสาธารณะที่นำไปสู่ความถูกต้อง เป็นธรรม ประโยชน์สุขของมหาชน ในสังคมปัจจัยที่ซับซ้อน ความถูกต้องเป็นธรรม ประโยชน์สุข การลงมติด้วยเสียงข้างมาก ความถูกต้องเป็นธรรม เป็นประโยชน์สุขของมหาชน ดร. พงษ์ศานต์ พันธุลาภ

40 ต้องมีการวิจัยสร้างความรู้ ความถูกต้องเป็นธรรม ข้อมูลหลักฐานและวิธีการ วิเคราะห์สังเคราะห์ที่เชื่อถือได้ โปร่งใส เป็นสาธารณะที่ให้ใครๆ เข้ามาดูและพิสูจน์ สามารถนำมาสู่การเรียนรู้ร่วมกัน เกิดความเห็นพ้องได้ การวิจัยนโยบาย หรือ การสังเคราะห์นโยบาย เป็นเครื่องมือเคลื่อนสังคมไปให้แผ่นดินมีธรรมครอง เพื่อประโยชน์สุขของมหาชน ดร. พงษ์ศานต์ พันธุลาภ

41 กระบวนการนโยบายสาธารณะแบบมีส่วนร่วม (Participatory Public Policy Process = PPP = P4) ถ้าทำให้ดีและกว้างขวาง กระบวนการทางปัญญา กระบวนการทางสังคม กระบวนการทางศีลธรรม ดร. พงษ์ศานต์ พันธุลาภ

42 การเคลื่อนกระบวนการสาธารณะ อย่างกว้างขวางและเป็นกลาง
การบวนการนโยบายสาธารณะ ไม่ควรจะรวบรัด ควรจะเน้นที่การมีส่วนร่วมเรียนรู้ของทุกฝ่ายอย่างกว้างขวาง จนเป็นความเข้าใจของสังคม เป็นคุณค่าของสังคม เป็นการปฏิบัติโดยสังคม ข้อเสนอเป็นผลพลอยได้อย่างหนึ่ง ดร. พงษ์ศานต์ พันธุลาภ

43 กระบวนการนโยบายสาธารณะเน้นที่การเรียนรู้ร่วมกันอย่างเป็นกลาง
ความเข้าใจ- คุณค่า- การปฏิบัติ คือการปรับเปลี่ยนตัวเองทางสังคม การได้ผลของนโยบายสาธารณะ ฝ่ายการเมืองเป็นส่วนหนึ่งของสังคม เป็นภาคีแห่งการเรียนรู้ร่วมกัน เมื่อทุกฝ่ายปฏิบัติจนเป็นปรกติวิสัยที่กลายเป็นวัฒนธรรม กระบวนการนโยบายสาธารณะเน้นที่การเรียนรู้ร่วมกันอย่างเป็นกลาง ดร. พงษ์ศานต์ พันธุลาภ

44 การเรียนรู้ร่วมกันในการปฏิบัติ คือหัวใจของความสำเร็จ
การเรียนรู้ร่วมกันในการปฏิบัติ คือหัวใจของความสำเร็จ Dialogue ---- (Collective wisdom) การจัดการความรู้ การนำเอาความรู้ในตัวคนมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้กัน เกิดนวัตกรรมทางปัญญา การลดอัตตา กระบวนการนี้ก่อให้เกิดการปรับเปลี่ยนตัวเอง ดร. พงษ์ศานต์ พันธุลาภ

45 การมีส่วนร่วมเสนอประเด็นนโยบายสาธารณะ
ฝ่ายต่างๆ ควรจะมีอย่างน้อย 8 ฝ่าย 1. ประชาชน / องค์การพัฒนาเอกชน 2. สื่อมวลชน 3. นักวิชาการ / มหาวิทยาลัย 4. องค์การสนับสนุนการวิจัยนโยบาย เช่น สภาวิจัย สกว. สกอ. สวรส. สสส. สปสช. มสช. ดร. พงษ์ศานต์ พันธุลาภ

46 6. องค์การทำงานนโยบาย เช่น กระทรวงต่างๆ
5. ภาคธุรกิจเอกชน 6. องค์การทำงานนโยบาย เช่น กระทรวงต่างๆ 7. ฝ่ายการเมือง เช่น รัฐบาล รัฐสภา 8. ผู้แทนองค์การอิสระ เช่น คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ดร. พงษ์ศานต์ พันธุลาภ

47 อาจมีฝ่ายอื่นๆ อีก ประชาชน เป็นผู้บอกปัญหาและความต้องการได้ดีที่สุด มาเป็นประเด็นทางนโยบาย เกษตรกร สื่อมวลชน องค์การสนับสนุนการวิจัยนโยบาย การวิจัยและการวิจัยนโยบายที่มีอยู่แล้วล ประเด็นนโยบายจากรัฐธรรมนูญ พระบรมราโชวาท และพระราชดำรัส รายการประเด็นนโยบายสารธารณะ เผยแพร่ ดร. พงษ์ศานต์ พันธุลาภ

48 การวิจัยนโยบายสาธารณะ
สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา (สกอ) สกอ ให้มหาวิทยาลัย มีส่วนร่วมในการตั้งโจทย์ไปจนถึงการทำการวิจัยนโยบาย และมีส่วนร่วมในเวทีนโยบายสาธารณะ สถาบันวิจัยนโยบายและยุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัย เชื่อมโยงกับกระบวนการนโยบายสาธารณะ การวิจัยเป็นเครื่องมือขับเคลื่อนการเรียนรู้ร่วมกัน ร่วมกันตั้งโจทย์ ร่วมกันวิจัย มาสู่กระบวนการเรียนรู้ ดร. พงษ์ศานต์ พันธุลาภ

49 เวทีนโยบายสาธารณะ การตั้งประเด็น การวิจัยนโยบาย การนำผลการวิจัยมาสู่การเรียนรู้ร่วมกันเพื่อการปฏิบัติ เวทีนโยบายสาธารณะ เป็นเวทีที่ใช้ความรู้ มีองค์ประกอบของผู้ร่วมประชุมที่ดี ควรให้ความสนใจแก่สื่อมวลชนเป็นพิเศษ “สื่อครอบโลก” ดร. พงษ์ศานต์ พันธุลาภ 2523 ดร. พงษ์ศานต์ พันธุลาภ

50 4. ถ้าจัดให้มีการกระจายเสียงสดทางวิทยุด้วยจะดีมาก
4. ถ้าจัดให้มีการกระจายเสียงสดทางวิทยุด้วยจะดีมาก 5. มีการจัดเตรียมเอกสารประกอบการประชุมอย่างดี 6. มีผู้จัดประชุมที่มีความสามารถในการจัดประชุมสูง พิถีพิถัน - องค์การภาคีเป็นเจ้าภาพร่วมกัน ดร. พงษ์ศานต์ พันธุลาภ

51 การเริ่มต้น ภาคี จุดประกายความคิด
การเริ่มต้น ภาคี จุดประกายความคิด 1. ควรพิมพ์หนังสือกรอบความคิด 2. พูดคุยกับองค์การภาคีในขั้นต้น 3. จัดพิมพ์ประเด็นนโยบายสาธารณะในเบื้องต้นจำนวนหนึ่ง 4. จัดประชุมจุดประกายความคิด - ต้องมีการประชาสัมพันธ์ล่วงหน้า ดร. พงษ์ศานต์ พันธุลาภ

52 นโยบายสาธารณะ Power and Influence Interest Money and Resource
Knowledge Public Mind 6. Management ดร. พงษ์ศานต์ พันธุลาภ คณะรัฐศาสตร์ มร ดร. พงษ์ศานต์ พันธุลาภ

53 นโยบายสาธารณะที่ดีบนฐานเสรีภาพและจริยธรรม ดร. ทิพาพร พิมพ์สุทธิ์
นโยบายสาธารณะที่ดีบนฐานเสรีภาพและจริยธรรม ดร. ทิพาพร พิมพ์สุทธิ์ เสรีภาพ สังคมสามารถคิด ตัดสินใจปฏิบัติ และเข้าร่วมทางการเมือง ปัจจเจกบุคคล ทำให้สังคมพัฒนาความรู้และปัญญา สังคมมีพลัง พลังปัจเจก พลังร่วม ขับเคลื่อนทางสังคมบนฐานของจริยธรรม ดร. พงษ์ศานต์ พันธุลาภ

54 กระบวนการพัฒนานโยบายสาธารณะเป็นกระบวนการทางสังคม
ปัญหามหาชน ระบบการเมืองแบบเปิด สิทธิมนุษยชน ความเป็นธรรม ความเสมอภาคเท่าเทียม กระบวนการขับเคลื่นเชิงนโยบายของชุมชนเป็นข้อมูลที่บ่งบอกถึงปัญหาในสังคม กระบวนการธรรมาภิบาลที่ไม่เป็นไปอย่างถูกต้อง สังคมจะไม่มีความสงบสุข เช่นนโยบายการแก้ปัญหาภาคใต้ ดร. พงษ์ศานต์ พันธุลาภ

55 “ SELF , CHANGE + BUREAUCRACY” ดร. พงษ์ศานต์ พันธุลาภ 2518
นโยบายเกิดขึ้นเพื่อการแก้ปัญหาในสังคม บนฐานของความรู้นำและพัฒนาสังคมให้มีคุณธรรมมีจิตสำนึกร่วมคิด ร่วมทำ ร่วมแก้ปัญหาของสังคม “ SELF , CHANGE + BUREAUCRACY” ดร. พงษ์ศานต์ พันธุลาภ 2518 ดร. พงษ์ศานต์ พันธุลาภ

56 นักการเมืองสามารถสร้างเครื่องมือเชิงนโยบาย
ปัจจัยขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะ เวทีนโยบายสาธารณะ การประชุมสัมมนา สื่อมวลชน ช่วยขับเคลื่อนประเด็นปัญหาเชิงนโยบายให้สังคมได้เรียนรู้ นักการเมืองสามารถสร้างเครื่องมือเชิงนโยบาย ข้อมูล ข้อเท็จจริง คุณค่า ค่านิยม ผลประโยชน์ ข้อจำกัดเชิงนโยบาย การตัดสินใจเลือกนโยบายเกิดประโยชน์ต่อสังคมโดยรวม ดร. พงษ์ศานต์ พันธุลาภ

57 กระบวนการพัฒนานโยบายตั้งอยู่บนพื้นฐานธรรมะ
สังคมที่มีธรรมะเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวถึงจะมีความชอบธรรม การใช้อบายมุขเพื่อสร้างความเอื้ออาทร ความเมตตากรุณาแก่คนจนไม่ใช่ความเมตตาไม่มั่นคงและไม่ยั่งยืน กระบวนการพัฒนานโยบายสาธารณะที่ดี บริบทของสังคม ทุนทางสังคมทางเลือกในการแก้ปัญหา วิธีการแก้ปัญาของชุมชน การเปลี่ยนแปลงหรือความเสี่ยงที่เกิดขึ้น ดร. พงษ์ศานต์ พันธุลาภ

58 ภูมิปัญญา กระบวนการ นโยบายและผู้นำ ปฏิสัมพันธ์ระหว่าง นโยบายกับประชาชน
ชุมชนสู่นโยบาย วิถีชีวิตชุมชน และจิตสำนึก สภาพแวดล้อม นโยบาย -สถาบัน -องค์กร -คน -มาตรการ ทางเลือกสิ่งแวดล้อม ยั่งยืน ประเด็นนโยบาย นโยบายสู่ชุมชน ความเสี่ยง มาตรการ ดร. พงษ์ศานต์ พันธุลาภ ประชาชน นโยบาย

59 การใช้ประโยชน์จากทรัพยากร ระบบการจัดการทรัพยากรของชุมชน
กรณีศึกษา การจัดการและการใช้ประโยชน์ป่าชายเลน ป่าสาคุในลุ่มน้ำปะเหลียน จังหวัดตรัง โดยนายพิศิษฐ์ ชาญเสนาะ การใช้ประโยชน์จากทรัพยากร ระบบการจัดการทรัพยากรของชุมชน กระบวนการการเคลื่อนไหว กระบวนการนำทรัพยากรมาใช้ประโยชน์ เช่น เศรษฐกิจชุมชน ความมั่นคงด้านอาหาร ยารักษาโรค การจัดการน้ำ องค์กรชุมชนและเครือข่ายในการฟื้นฟูจัดการ และการใช้ประโยชน์จากทรัพยากร ผลักดันองค์กรบริหารส่วนท้องถิ่นและหน่วยงานของรัฐ ดร. พงษ์ศานต์ พันธุลาภ

60 ด้านความรู้ การเรียนรู้และการมีส่วนร่วมในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน
- การศึกษาทรัพยากรสาหร่ายบ้านแตะหรำ ม.5 ต.กันตังใต้ จ. ตรัง โดยนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ แกนนำชุมชน กลุ่มเยาวชน กลุ่มผู้หญิงบ้านแตะหรำ - การศึกษาสาหร่ายบ้านแตะหรำ โดยเก็บข้อมูลพื้นฐาน วงจรชีวติ การใช้ประโยชน์ ตรวจวัดสภาพน้ำ ในบริเวณที่มีสาหร่าย การใช้ประโยชน์และระบบนิเวศที่เหมาะสม ดร. พงษ์ศานต์ พันธุลาภ

61 สร้างความรู้ ความเข้าใจ ในการจัดการป่า กิจกรรมการจัดทำแนวเขตที่ชัดเจนน การฟื้นฟูป่าชายเลนชุมชนเป็นหลัก เขตพื้นที่ป่าชายเลนชุมชน ประสานโรงเรียนและชุมชนในพื้นที่เป้าหมาย ชุมชนมีส่วนร่วม การค้นหาความรู้ภูมิปัญญา รวบรวมองค์ความรู้ ชนิดปลาน้ำจืด ในคลองลำซาน การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ วิเคราะห์ปัญหาและผลกระทบ ร่วมกันนำเสนอแนวทางการอนุรักษ์ฟื้นฟูสัตว์น้ำเกิดการขยายผลจากความรู้ ดร. พงษ์ศานต์ พันธุลาภ

62 ชุมชนขยายความคิด เกษตรอินทรีย์ปลอดสารพิษ
การใช้ป่าสาคูเป็นแหล่งเรียนรู้ ชีวภาพ พันธุ์พืช พันธุ์สัตว์ สร้างหลักสูตรท้องถิ่นเพื่อใช้ในโรงเรียน คุณค่า เนื้อหา สาคู รวบรวมสร้างองค์ความรู้ ให้ความรู้ ปลูกฝังจิตสำนึกในการอนุรักษ์เรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น กระบวนการทางสังคม ชุมชนขยายความคิด เกษตรอินทรีย์ปลอดสารพิษ ดร. พงษ์ศานต์ พันธุลาภ

63 จัดประชุมผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง องค์กรชุมชนในพื้นที่ ชมรมอนุรักษ์ทรัพยากรป่าต้นน้ำ ชมรมอนุรักษ์ป่าสาคู เครือข่ายป่าชายเลน เพื่อการผลักดันการจัดการทรัพยากรธรรมชาติสู่นโยบายสาธารณะ สร้างเครือข่าย ระดับพื้นที่ เครือข่ายเกี่ยวกับป่าชายเลน เครือข่ายป่าสาคู กลุ่มคนอื่นๆ คนชั้นกลาง ในเวทีการแลกเปลี่ยน การแสวงหาทางออก การปฏิบัติกิจกรรมร่วมกัน ดร. พงษ์ศานต์ พันธุลาภ

64 ชุมชนนำทรัพยากรมาใช้ประโยชน์ พึ่งตนเอง ใช้ทรัพยากรแบบยั่งยืน
เกิดองค์กรจัดการเรื่องต่างๆขึ้นในชุมชน กลุ่มผู้หญิง กลุ่มเครือข่ายลุ่มน้ำปะเหลียน ผลที่เกิดขึ้น ชุมชนฟื้นฟูภูมิปัญญาท้องถิ่นเกี่ยวกับการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรในลักษณะต่างๆ ด้านเศรษฐกิจ ด้านอาหาร ด้านยารักษาโรค ด้านที่อยู่อาศัย ด้านการจัดการน้ำ กลุ่มผู้หญิง แปรรูปอาหาร กลุ่มจัดการน้ำ กลุ่มพัฒนาการใช้สมุนไพร กลุ่มนักเรียน ชมรมอนุรักษ์ป่าสาคู ชุมชนนำทรัพยากรมาใช้ประโยชน์ พึ่งตนเอง ใช้ทรัพยากรแบบยั่งยืน ดร. พงษ์ศานต์ พันธุลาภ

65 กรณีศึกษา : กองทุนสัจจะวันละ 1 บาท เพื่อทำสวัสดิการภาคประชาชน ครูชบ ยอดแก้ว
กองทุนสัจจะวันละ 1 บาท ในพื้นที่ตำบลโดยรอบทะเลสาบสงขลา โดยใช้ฐานเครือข่ายจากกลุ่มออมทรัพย์หมู่บ้าน ครูชบ-ปราณี ยอดแก้ว เป็นการประชุมที่ก่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันหลายฝ่ายในพื้นที่ ทั้งฝ่ายชาวบ้าน ฝ่ายนักวิชาการมหาวิทยาลัย ประสานโดยตรงกับผู้ว่าราชการจังหวัดสงขลา โครงการที่เป็นหลักประกันให้ประชาชน ชุมชนเพื่อเป็นการพัมนาคุณภาพชีวิตที่ดี ช่วยให้ชุมชนเข้มแข็ง ดร. พงษ์ศานต์ พันธุลาภ

66 ทิศทางการเปลี่ยนแปลงเชิงนโยบายในการเมืองไทย
จากนโยบายรัฐบาล การพัฒนาคน จริยธรรม ความรู้ ความสุข ความเป็นธรรม สวัสดิการภาคประชาชน บริการทางสังคม สภาพัฒน์ฯ ดัชนีชี้วัดความสุขร่วมกันในสังคมไทยต้นปี 2550 ตัวแปร 5 เรื่อง คืฮ คน ครอบครัว สภาพแวดล้อม ธรรมาภิบาล สิทธิเสรีภาพของประชาชน โดยเน้นค่านิยมในสังคมและความมีมนุษยธรรม สร้างชุมชนเข้มแข็ง สังคมคุณธรรม ฐานการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองที่ดี การพัฒนานโยบายสาธารณะที่ดี การพัฒนาประชาธิปไตย จะเกิดขึ้นจากสังคมที่มีคุณธรรมและความรู้เป็นพื้นฐาน ดร. พงษ์ศานต์ พันธุลาภ


ดาวน์โหลด ppt รัฐ สังคม และการเปลี่ยนแปลง

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google