ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยChaisai Pureesrisak ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
การขับเคลื่อนและติดตามการดำเนินงาน ตามมติสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ
พัชรา อุบลสวัสดิ์ ผู้อำนวยการสำนักสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ
2
คณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (คสช.) แต่งตั้ง
คณะกรรมการขับเคลื่อนและติดตามการดำเนินงาน ตามมติสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ (คมส.) นพ.ณรงค์ศักดิ์ อังคะสุวพลา เป็นประธาน เลขาธิการ คสช. เป็นกรรมการและเลขาฯ
3
บทบาทหน้าที่ วางกลยุทธ์การขับเคลื่อนและติดตามการดำเนินงานตามมติ สมัชชาฯไปสู่การปฏิบัติแบบมีส่วนร่วม แสวงหาความร่วมมือจากหน่วยงาน องค์กร และภาคี เครือข่ายในการขับเคลื่อนและดำเนินงานตามมติสมัชชาฯ ติดตามผลการดำเนินงานตามมติสมัชชาฯ และรายงานต่อ สมัชชาฯ และ คสช. เป็นระยะๆ ตามความเหมาะสม ให้ข้อเสนอแนะและคำปรึกษาต่อ คจ.สช. เกี่ยวกับการ พัฒนาข้อเสนอเชิงนโยบายเพื่อจะบรรจุเป็นระเบียบวาระใน สมัชชาสุขภาพแห่งชาติ ให้ข้อเสนอแนะต่อ คสช. คจ.สช. และกลไกอื่นๆ เกี่ยวกับ การดำเนินการตามมติสมัชชาสุขภาพแห่งชาติตามที่ เห็นสมควร
4
มติสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ
เสนอเป็นวาระ สมัชชาสุขภาพแห่งชาติ 9 D:Develop (คจ.สช.) 1 มติสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ D:Drive (คมส.) คจ.สช. พิจารณาความพร้อมของเอกสารและกลไกที่เกี่ยวข้อง สช. /พื้นที่ จัดรับฟังความเห็น เครือข่ายก่อน NHA 8 ทบทวนมติ 7 2 หน่วยงาน องค์กร เครือข่าย นำมติไปขับเคลื่อน คสช.รับทราบ/มอบหมาย อนุฯวิชาการ/คทง.เฉพาะประเด็น พัฒนาข้อเสนอเชิงนโยบาย 3 คมส. กลไกขับเคลื่อนงาน วางยุทธศาสตร์การทำงาน หนุนเสริมการทำงาน ติดตามประเมินผลและรายงานผล สร้างความร่วมมือ รายงานผล 6 จัดรับฟังความเห็น เครือข่าย ก่อนกำหนด ร่างระเบียบวาระ NHA ครม.พิจารณา ให้ความเห็นชอบ 5 4 เปิดรับข้อเสนอจาก เครือข่าย เชื่อมโยงการทำงาน คสช. ทบทวนมติที่ผ่านมา รายงานผลตามช่องทางต่างๆ สื่อสารสาธารณะ (เว็บไซต์ นสพ. สานพลัง ทีวี วิทยุ) จัดเวทีเจาะประเด็น จัดเวทีสาธารณะ คสช..พิจารณา ให้ความเห็นชอบ กลั่นกรอง ข้อเสนอประเด็น นโยบายฯ 10
5
การขับเคลื่อนมติสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ
๑) นำเสนอต่อคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (คสช.) และคณะรัฐมนตรี (ครม.) เพื่อพิจารณาสั่งการหน่วยงานที่เกี่ยวข้องดำเนินการ อันจะเป็นการเพิ่มความแข็งแรง (strengthen) ให้กับข้อเสนอที่จำเป็น (โดยปกติหลังการมีมติสมัชชาสุขภาพแล้ว สช. จะรายงานให้ คสช. เพื่อพิจารณาเห็นชอบ และมอบหมายผู้เกี่ยวข้องดำเนินการต่อไป)
6
๒) ยุทธศาสตร์ในการสนับสนุนเพื่อการขับเคลื่อนมติสมัชชาสุขภาพ เพื่อสนับสนุนกลไกขับเคลื่อน และผู้เกี่ยวข้องตามมติสมัชชาฯ ให้ได้อย่างเหมาะสมเพื่อนำไปสู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม ๘ ส. หรือ DENMARKS ประกอบด้วย สาธิต (Demonstration) เสริมกำลังใจ (Encouragement) สานเครือข่าย (Networking) สร้างแรงจูงใจ (Motivation) เสริมการชื่นชม (Appreciation) สร้างการยอมรับ (Recognition) สนับสนุนการจัดการความรู้ (Knowledge Management) สื่อสารสังคม (Social Communication)
7
Revisit ๓) ทบทวนมติสมัชชาสุขภาพฯ ในกรณี
ที่พบว่า สถานการณ์มีการเปลี่ยนแปลง มติสมัชชาฯ มีปัญหาในการปฏิบัติ หรือมีข้อห่วงใยจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง โดยอาจนำเข้าสู่การเป็นระเบียบวาระใหม่ ซึ่งเป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการจัดสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๕๗ Revisit
8
๔) มติสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ ครั้งที่ ๑- ๖ (พ. ศ
๔) มติสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ ครั้งที่ ๑- ๖ (พ.ศ.๒๕๕๑–๒๕๕๖) รวม ๕๙ มติ ครั้งที่ ๑ จำนวน ๑๔ มติ ครั้งที่ ๒ จำนวน ๑๑ มติ ครั้งที่ ๓ จำนวน ๙ มติ ครั้งที่ ๔ จำนวน ๖ มติ ครั้งที่ ๕ จำนวน ๑๑ มติ ครั้งที่ ๖ จำนวน ๘ มติ
9
มติสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ ครั้งที่ ๖ พ.ศ.๒๕๕๖
มติ การสร้างความร่วมมือของทุกภาคส่วน เพื่อ “สุขภาพหนึ่งเดียว”
10
(พล.ต.อ.อดุลย์ แสงสิงแก้ว เป็นประธาน) จำนวน ๖ มติ โดยมอบหมายให้ :-
ความก้าวหน้า : ๒๕ กรกฎาคม ๒๕๕๗ ที่ประชุม คสช. (พล.ต.อ.อดุลย์ แสงสิงแก้ว เป็นประธาน) มีมติรับทราบ มติสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ ครั้งที่ ๖ พ.ศ.๒๕๕๖ จำนวน ๖ มติ โดยมอบหมายให้ :-
11
๑. เลขาธิการ คสช. แจ้งมติสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ
ครั้งที่ ๖ ให้หน่วยงานและองค์กรที่เกี่ยวข้องได้ทราบ เพื่อพิจารณาดำเนินการในส่วนที่เกี่ยวข้องในมติที่ เกี่ยวข้องตามที่เห็นสมควรต่อไป (สช.ว ๐๖๐๘/๒๕๕๗ ลว.๑๘ ส.ค.๒๕๕๗) ๒. คมส. พิจารณาแสวงหาวิธีการผลักดันและขับเคลื่อน มติสมัชชาสุขภาพแห่งชาติฯ เพื่อให้บรรลุผลตามควร แก่กรณี หากเห็นว่ามติใดสมควรเสนอให้ คสช.พิจารณา ก็ให้เสนอ คสช.พิจารณาต่อไป
12
ขอบคุณค่ะ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.