งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

Electronic Circuits Design

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "Electronic Circuits Design"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 Electronic Circuits Design
Pinit Nuangpirom RMUTL

2 Basic of OP-AMP Operational Amplifiers

3 Basic of OP-AMP

4 Idea OP-AMP Av เป็นอัตราการขยายแรงดันซึ่งมีค่าสูงมาก จึงเป็นคุณสมบัติที่พิเศษสุดของออปแอมป์ ออปแอมป์แบบอุดมคติ จะมีคุณสมบัติตามเงื่อนไขดังนี้ 1. อัตราการขยายแรงดัน สูงมากจนเป็นอนันต์ 2. ความต้านทานทางอินพุต สูงมากจนเป็นอนันต์ 3. ความต้านทานทางเอาท์พุท ต่ำมากจนเป็นศูนย์ 4. แรงดันออฟเซททางอินพุทเป็นศูนย์ 5. กระแสออฟเซททางอินพุทเป็นศูนย์ 6. ลักษณะสมบัติเชิงความถี่ ขยายได้ดีตั้งแต่ไฟตรง จนความถี่สูงมากเป็นอนันต์

5 Basic of OP-AMP

6 Basic of OP-AMP

7 Basic of OP-AMP ความต้านทานอินพุต

8 Basic of OP-AMP ความต้านทานเอาต์พุต

9 Basic of OP-AMP ความต้านทานเอาต์พุต

10 Basic of OP-AMP แรงดันออฟเซททางอินพุท
แรงดันออฟเซททางอินพุทเป็นเรื่องสำคัญมากเรื่องหนึ่ง เมื่อเราศึกษาเรื่องออปแอมป์ แรงดันออปเซททางอินพุทหมายถึง แรงดันขนาดเล็กที่ปรากฏระหว่างอินพุทบวกลบ ของออปแอมป์ในขณะที่แรงดันอินพุทเป็นศูนย์

11 Basic of OP-AMP กระแสไบแอสทางอินพุท
กระแสไบแอสทางอินพุท หมายถึง กระแสที่ไหลเข้าหรือออกจากขั้วบวกหรือลบ ของอินพุทของออปแอมป์ไม่เกี่ยวข้องกับความต้านทานทางอินพุทของออปแอมป์ ปกติกระแสไบแอสทางอินพุท จะมีองค์ประกอบไฟตรงเป็นหลักในขณะที่ความต้านทาน ทางอินพุท จะมีองค์ประกอบทางไฟสลับเป็นหลัก

12 Basic of OP-AMP กระแสออฟเซททางอินพุท
ตามปกติกระแสไบแอสที่ไหลเข้าขั้วบวกและลบของออปแอมป์จะไม่เท่ากันทีเดียวนัก ความแตกต่างของกระแสทั้งสองนี้ เรียกว่ากระแสออฟเซททางอินพุทของออปแอมป์ ยกตัวอย่างเช่น กระแสไบแอสที่ไหลเข้าทางขั้วบวกเป็น 110 microA และที่ขั้วลบเป็น 90 microA เราจะเขียนว่ากระแสไบแอสเท่ากับ 100 microA และกระแสออฟเซททาง อินพุทเท่ากับ 20 microA เป็นต้น

13 Basic of OP-AMP กระแสออฟเซททางอินพุท

14 Basic of OP-AMP อัตราสลูว์เรท
สลูว์เรท (Slew rate) สลูว์เรท หมายถึง ความสามารถในการให้เอาท์พุท เพื่อไล่ให้ทัน การเปลี่ยนแปลงทางอินพุท ที่ป้อนเข้ามา ถ้าป้อนแรงดันรูปคลื่นสี่เหลี่ยมซึ่งมีแอมปลิจูด ใหญ่ให้กับออปแอมป์ แล้ววัดดูความเร็วในการขึ้นลงของรูปคลื่นทางเอาท์พุทจะได้ เป็นค่าสลูว์เรทออกมา ตัวอย่างเช่นเอาท์พุทให้แรงดันที่เปลี่ยนแปลงไป 10 V ในเวลา 0.1 mS แสดงว่ามีสลูว์เรท เท่ากับ 10 / 0.1 microS = 100V / microS คลื่นสามเหลี่ยมความถี่ 1Hz ขนาด 1 Vpp จะมีสลูว์เรทเท่ากับ 0.5 V / 0.25 microS หรือ 2 V / Sec แต่ถ้าขนาดเพิ่มเป็น 10 Vpp ค่าสลูว์เรทจะเป็น 5 V / 0.25 Sec หรือ 20 V / Sec นั่นเอง ซึ่งจะเพิ่มขึ้นถึง 10 เท่าตัว อัตราการเปลี่ยนแรงดันนี้เราเรียกว่า สลูว์เรท

15 Basic of OP-AMP อัตราสลูว์เรท
สลูว์เรท (Slew rate) สลูว์เรท หมายถึง ความสามารถในการให้เอาท์พุท เพื่อไล่ให้ทัน การเปลี่ยนแปลงทางอินพุท ที่ป้อนเข้ามา ถ้าป้อนแรงดันรูปคลื่นสี่เหลี่ยมซึ่งมีแอมปลิจูด ใหญ่ให้กับออปแอมป์ แล้ววัดดูความเร็วในการขึ้นลงของรูปคลื่นทางเอาท์พุทจะได้ เป็นค่าสลูว์เรทออกมา

16 Basic of OP-AMP อัตราสลูว์เรท

17 Basic of OP-AMP อัตราสลูว์เรท ปัญหาที่เกี่ยวข้องกับสลูว์เรท คือ
การที่จะให้รูปคลื่นที่สมบูรณ์มี ขนาดใหญ่ได้เท่าใด ในขณะที่ ความถี่สูงขึ้น ซึ่งไม่เกี่ยวข้อง กับผลตอบสนองทางความถี่เลย

18 Basic of OP-AMP อัตราสลูว์เรท ปัญหาที่เกี่ยวข้องกับสลูว์เรท คือ
การที่จะให้รูปคลื่นที่สมบูรณ์มี ขนาดใหญ่ได้เท่าใด ในขณะที่ ความถี่สูงขึ้น ซึ่งไม่เกี่ยวข้อง กับผลตอบสนองทางความถี่เลย ผลิตสัญญาณรูปซายน์ความถี่ 1 MHz ขนาด 20 Vp-p ได้นั้น ออปแอมป์จะต้อง มีสลูว์เรทถึง 62.8 V / microS

19 Basic of OP-AMP อัตราสลูว์เรท
ออปแอมป์เบอร์ LM741 ที่นิยมใช้กันนั้น มีสลูว์เรทเพียง 0.5 V / microS ถ้าจะนำมาผลิตรูปคลื่นซายน์ที่มีขนาด 20 Vp-p ก็คงจะได้ความถี่เพียงประมาณ 10 KHz เท่านั้นเอง แต่ถ้าใช้ LM741 เป็นบัฟเฟอร์ที่มีอัตราขยายเพียง 1 เท่า และพยายามผลิตสัญญาณให้ได้ 1 MHz ก็จะได้ขนาดสัญญาณเพียง 0.1 V เท่านั้น

20 OP-AMP Operational Amplifiers

21 Introduction

22 Introduction

23 OP-AMP

24 OP-AMP

25 OP-AMP

26 OP-AMP

27 OP-AMP

28 OP-AMP

29 OP-AMP

30 OP-AMP

31 Example 1

32 Practice 1

33 Idea Op-amp

34 Idea Op-amp

35 Example 2

36 Practice 2

37 Inverting Amplifier

38 Inverting Amplifier

39 Inverting Amplifier

40 Inverting Amplifier

41 Inverting Amplifier

42 Noninverting Amplifier

43 Noninverting Amplifier

44 Noninverting Amplifier

45 Noninverting Amplifier

46 Noninverting Amplifier

47 Summing Amplifier

48 Summing Amplifier

49 Summing Amplifier

50 Diference Amplifier

51 Diference Amplifier

52 Diference Amplifier

53 Cascade Opamp Circuit

54 Cascade Opamp Circuit

55 Cascade Opamp Circuit

56 Cascade Opamp Circuit

57 Cascade Opamp Circuit

58 Cascade Opamp Circuit

59 Cascade Opamp Circuit

60 Cascade Opamp Circuit

61 Cascade Opamp Circuit

62 Cascade Opamp Circuit

63 Cascade Opamp Circuit

64 Cascade Opamp Circuit

65 Cascade Opamp Circuit

66 Cascade Opamp Circuit

67 Cascade Opamp Circuit

68 Cascade Opamp Circuit

69 Cascade Opamp Circuit

70 Cascade Opamp Circuit

71 Cascade Opamp Circuit

72 Cascade Opamp Circuit

73 Cascade Opamp Circuit

74 Cascade Opamp Circuit

75 Cascade Opamp Circuit

76 Cascade Opamp Circuit

77 Cascade Opamp Circuit

78 Cascade Opamp Circuit

79 Cascade Opamp Circuit

80 Cascade Opamp Circuit

81 Cascade Opamp Circuit

82 Cascade Opamp Circuit

83 Cascade Opamp Circuit

84 Cascade Opamp Circuit

85 Cascade Opamp Circuit

86 Cascade Opamp Circuit

87 Cascade Opamp Circuit


ดาวน์โหลด ppt Electronic Circuits Design

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google