ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยPira Monkoltham ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
การประมาณค่าพารามิเตอร์ทางพันธุกรรมและแนวโน้มทางพันธุกรรมของสมรรถนะการเจริญเติบโตและผลผลิตไข่ในไก่พื้นเมืองไทย (ประดู่หางดำ) วุฒิไกร บุญคุ้ม, มนต์ชัย ดวงจินดา, บัญญัติ เหล่าไพบูลย์ และเทวินทร์ วงษ์พระลับ ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
2
ความสำคัญและที่มางานวิจัยไก่ประดู่หางดำ
3
คุณสมบัติของไก่ประดู่หางดำ
ความสำคัญและที่มางานวิจัยไก่ประดู่หางดำ คุณสมบัติของไก่ประดู่หางดำ รสชาติดี ราคาเมื่อขายสูงกว่าไก่เนื้อ คอเลสเตอรอลต่ำ กรดยูริกต่ำ ไตรกลีเซอไรด์ต่ำ อาชีพเสริมของเกษตรกร เชิงการค้าระดับอุตสาหกรรม
4
ความสำคัญและที่มางานวิจัยไก่ประดู่หางดำ
การเจริญเติบโตช้า ผลผลิตไข่ต่ำ การปรับปรุงพันธุกรรม
5
วัตถุประสงค์ เพื่อประมาณค่าพารามิเตอร์ทางพันธุกรรมและวิเคราะห์แนวโน้มทางพันธุกรรมเพื่อศึกษาความเป็นไปได้ในการปรับปรุงพันธุ์ไก่พื้นเมืองประดู่หางดำของลักษณะสมรรถนะการเจริญเติบโตและปริมาณผลผลิตไข่
6
Genetic Parameter Estimation
วิธีการศึกษา Growth trait = นน.ตัว เมื่ออายุ 16 สัปดาห์ Carcass trait = ความยาวรอบอก Egg trait = ผลผลิตไข่เมื่ออายุ 300 วัน G1-G4 4,283 บันทึก Selection Index I = 1EBV1 + 2EBV2 + 3EBV3 Genetic Parameter Estimation Multi-trait BLUP h2, rG G1 G2 G SELECTION G3
7
ผลการทดลอง Avg 88 g/head Avg 200 g/head Avg 1.5 egg/head Avg 66 g/head
8
ผลการทดลอง ตารางแสดงความแปรปรวนของลักษณะปรากฏ (phenotypic variance, Vp), ความแปรปรวนทางพันธุกรรม (genetic variance) ค่าอัตราพันธุกรรรม (h2), ความคลาดเคลื่อน (SE) ค่าสหสัมพันธ์ทางพันธุกรรม (rg) และค่าสหสัมพันธ์ของลักษณะปรากฏของลักษณะที่คัดเลือกในไก่ประดู่หางดำ ประดู่หางดำ ลักษณะ Vp Va h2 SE. BW BR EGG น้ำหนักตัวที่อายุ 16 สัปดาห์ 50.12 21.44 0.43 0.02 - 0.95 0.10 ความกว้างอก 2.64 0.80 0.30 0.03 0.90 0.08 จำนวนไข่รวมที่อายุ 300 วัน 390.8 99.79 0.26 0.04 0.06 rg rp
9
สรุป การปรับปรุงพันธุกรรมไก่ประดู่หางดำใน
ลักษณะสมรรถนะการเจริญเติบโตและผลผลิตไข่ สามารถทำได้ มีความสัมพันธ์ในเชิงพันธุกรรมต่ำหรือมีอิสระต่อ กันดังนั้นในการคัดเลือกควรพิจารณาแยก
10
คำขอบคุณ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.