ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
NCD เขตบริการสุขภาพที่ 1
2
P F M S,A การคัดกรอง คลินิกคุณภาพ การรักษาที่ได้มาตรฐาน + ค่าเป้าหมาย
การคัดกรองภาวะแทรกซ้อน การแก้ไขปัญหาตามสภาพข้อมูล คลินิกคุณภาพ ท้องถิ่น ภาคประชาชน P F M S,A
3
Health Service plan สาขา ..............โรคไม่ติดต่อ
ตัวชี้วัด ตัวชี้วัด Baseline data ค่าเป้าหมาย ร้อยละของการคัดกรองเบาหวาน ในประชากรอายุ 15 ปี ร้อยละ 69.11 ร้อยละ 90 2.. ร้อยละของการคัดกรองความดัน ในประชากรอายุ 15 ปี ร้อยละ 72.12 3.ร้อยละของผู้ที่ได้รับการตรวจ HbA1C ร้อยละ 51.90 ร้อยละ 60 4.ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานตรวจ HbA1Cc น้อยกว่า 7 ร้อยละ 42.91 ร้อยละ 40 5.ร้อยละของผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ควบคุมความดันได้ดี 140/90 ร้อยละ 54.64 6.ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่ได้รับการตรวจตา ร้อยละ 56.97 7.ร้อยละของผู้ป่วยบาหวานได้รับการการตรวจ CVD ร้อยละ 56.55 8.ร้อยละของผู้ป่วยความดันโบหิตสูงที่ได้รับการการตรวจ CVD ร้อยละ 56.72
4
Health Service plan สาขา ..............โรคไม่ติดต่อ
ตัวชี้วัด ตัวชี้วัด Baseline data ค่าเป้าหมาย 9.ร้อยละกลุ่มเสี่ยง COPD ได้รับการคัดกรอง ร้อยละ 80 10.ร้อยละของโรงพยาบาลชุมชนที่มีคลินิก COPD ร้อยละ 100 11.ร้อยละของคลินิกอดบุหรี่ในโรงพยาบาล
5
สรุปผลการการดำเเนินการ
ตารางที่ 1 สรุปผลการดำเนินงาน service plan เขตบริการสุขภาพที่ 1 สาขาโรคไม่ติดต่อ สรุปผลการการดำเเนินการ แนวทางแก้ไข service delivery การคัดกรองกลุ่มเสี่ยงต่ำกว่าเป้าหมาย การรักษาที่ได้มาตรฐานและค่าเป้าหมายยังต่ำกว่าค่าเป้าหมาย การคัดกรองภาวะแทรกซ้อนยังต่ำกว่าค่าเป้าหมาย รูปแบบการดำเนินการคลินิก COPD ยังไม่ชัดเจน -แต่ละหน่วยบริการ(CUP)เพิ่มการให้บริการ -แต่ละหน่วยบริการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานคลินิก COPD 2. Workforce มี case manager เบาหวานความดัน 92 คน มี system manager 20 คน ฝึกอบรม case และ system manager ให้ครบทุกหน่วยบริการ
6
ตารางที่ 2 สรุปผลการดำเนินงาน service plan เขตบริการสุขภาพที่ 1 สาขาโรคไม่ติดต่อ
สรุปผลการดำเนินการ แนวทางแก้ไข 3. Information ระบบฐานข้อมูลโรคไม่ติดต่อระดับทุติยภูมิและตติยภูมิมีหลากลาย โปรแกรม แต่ละโปรแกรมไม่เชื่อมโยงกับฐานข้อมูล 43 แฟ้ม (ยกเว้น Hos xp)ทำให้การวิเคราะห์ข้อมูลคลาดเคลื่อนไม่ครบถ้วนสมบูรณ์ การลงข้อมูลไม่ครบถ้วนและยังไม่ถูกต้องเพราะความไม่เข้าใจ รหัส นิยาม ICD10ของผู้กรอกข้อมูลทำให้ผลงานต่ำ -แต่ละจังหวัดดำเนินการแก้ไขโดยการประสานกับงาน IT ของตัวเอง
7
-เพิ่ม Fundus camera อีก 7 เครื่อง สำหรับเชียงใหม่ 2 เครื่อง
ตารางที่ 3 สรุปผลการดำเนินงาน service plan เขตบริการสุขภาพที่ 1 สาขาโรคไม่ติดต่อ สรุปผลการดำเนินการ แนวทางแก้ไข 4. Instrument เครื่องมือ (ครุภัณฑ์/สิ่งก่อสร้าง) Fundus camera มี 29 เครื่อง อัตราการใช้เครื่องต่อผู้ป่วย 3,000 – 5,000 คน/ 1 เครื่อง หลายจังหวัดดำเนินงานสิ้นสุดปีงบประมาณเครื่องชำรุดกำลังส่งซ่อม -เพิ่ม Fundus camera อีก 7 เครื่อง สำหรับเชียงใหม่ 2 เครื่อง สำหรับ ลำปาง ลำพูน พะเยา แพร่ น่าน จังหวัดละ 1 เครื่อง
8
ขอรับการสนับสนุนระดับเขต
งบประมาณในการอบรมพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่บุคลากรสาธาณสุขจำนวน 2 ล้านบาท งบประมาณในการจัดซื้อ fundus camera เพิ่ม 7 เครื่อง สำหรับเชียงใหม่ 2 เครื่อง สำหรับ ลำปาง ลำพูน พะเยา แพร่ น่าน จังหวัดละ 1 เครื่อง (ที่ประชุมเมื่อวาน 27 ก.ย. 57 ให้แต่ละจังหวัดดำเนินการเอง)
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.