งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานวิจัยการเรียนการสอน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "งานวิจัยการเรียนการสอน"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 งานวิจัยการเรียนการสอน
เรื่อง ผลของการใช้เทคนิคการนับนิ้วมือ ที่มีต่อการจดจำอัตราส่วนตรีโกณมิติ ของนักศึกษาระดับ ปวส. ชั้นปีที่ วิทยาลัยเทคโนโลยีสุราษฎร์ธานี ปีการศึกษา 2556 ชื่อผู้วิจัย นายสุทธิพงศ์ ฉายากุล

2 ปัญหาการวิจัย - นศ. จดจำอัตราส่วนตรีโกณมิติที่มุมสำคัญไม่ได้ - นศ. มีผลคะแนนเรื่อง อัตราส่วนตรีโกณมิติ ไม่ผ่านเกณฑ์

3 กรอบแนวคิดการวิจัย การใช้เทคนิคการนับนิ้วมือเพื่อระบุ อัตราส่วนตรีโกณมิติ เป็นวิธีการที่ช่วยให้นักศึกษา จดจำอัตราส่วนตรีโกณมิติได้ง่าย และคงทน

4 วัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาผลของการใช้เทคนิคการนับนิ้วมือ ที่มีต่อการจดจำอัตราส่วนตรีโกณมิติของนักศึกษา 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียน และหลังเรียนของนักศึกษาที่ได้เรียนรู้ เรื่อง อัตราส่วนตรีโกณมิติ โดยใช้เทคนิคการนับนิ้วมือ กับแบบการสอนปกติ

5 อัตราส่วนตรีโกณมิติ 45o 1 45o 1 30o 2 60o 1

6 ผลการทดสอบ (คะแนนเต็ม 30 คะแนน) หลังเรียนผ่านไป 1 สัปดาห์
ตารางที่ 1 ผลการทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียนโดยใช้แผนการจัดการเรียนรู้ปกติ คนที่ ผลการทดสอบ (คะแนนเต็ม 30 คะแนน) ก่อนเรียน ครั้งที่ 1 หลังเรียน ครั้งที่ 2 หลังเรียนผ่านไป 1 สัปดาห์ 1 2 30 26 18 10 3 12 4 5 16 6 23 7 8 14 9 24 20 ค่าเฉลี่ย 20 คะแนน คะแนน จำนวนที่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 50 ของคะแนนเต็ม 7 คน 6 คน ร้อยละของผู้ที่ผ่านเกณฑ์ 70.00 60.00

7 อัตราส่วนตรีโกณมิติ 2 0o 30o 45o 60o 90o sin cos

8 ตารางที่ 2 ผลการทดสอบหลังเรียนโดยใช้เทคนิคการนับนิ้วมือ
ตารางที่ 2 ผลการทดสอบหลังเรียนโดยใช้เทคนิคการนับนิ้วมือ คนที่ ครั้งที่ 3 ใช้เทคนิคการนับนิ้วมือ (หลังเรียน) ครั้งที่ 4 หลังใช้เทคนิคการนับนิ้วมือผ่านไป 4 สัปดาห์ (ไม่แจ้งล่วงหน้า) 1 30 2 24 25 3 4 5 6 7 26 8 27 9 10 ค่าเฉลี่ย คะแนน คะแนน จำนวนที่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 50 ของคะแนนเต็ม 10 คน ร้อยละของผู้ที่ผ่านเกณฑ์ 100

9 สรุปผลการวิจัย 1. การใช้เทคนิคการนับนิ้วมือเป็นวิธีการที่ช่วยให้นักศึกษาจดจำอัตราส่วนตรีโกณมิติได้ง่ายขึ้น และคงทน 2. คะแนนเฉลี่ยและจำนวนนักศึกษาที่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 50 ของคะแนนเต็มหลังการจัดการเรียนรู้แบบปกติผ่านไป 1 สัปดาห์ ลดลง และหลังจากเรียนรู้วิธีการใช้เทคนิคการนับนิ้วมือระบุอัตราส่วนตรีโกณมิติ คะแนนเฉลี่ย และจำนวนนักศึกษาที่ผ่านเกณฑ์เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 สรุปว่า การใช้เทคนิคการนับนิ้วมือช่วยให้นักศึกษาจดจำ อัตราส่วนตรีโกณมิติได้ง่ายขึ้น และคงทน ส่งผลให้นักศึกษาทุกคน ผ่านเกณฑ์การทดสอบเมื่อเปรียบเทียบกับการสอนแบบปกติ

10 สวัสดีครับ


ดาวน์โหลด ppt งานวิจัยการเรียนการสอน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google