ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
ปริมาณสำรองปิโตรเลียม
โดย ฝ่ายวิศวกรรมแหล่งพลังงาน
2
ปริมาณสำรองปิโตรเลียมคืออะไร
คือค่าประมาณปริมาณน้ำมันดิบ ก๊าซธรรมชาติ ก๊าซธรรมชาติเหลว ที่อยู่ในแหล่งกักเก็บซึ่งสามารถจะผลิตขึ้นมาได้ภายใต้ภาวะการณ์ทางเศรษฐกิจและเทคโนโลยีปัจจุบัน
3
ใครอยากรู้บ้าง เจ้านาย (รัฐ) บริษัทและผู้ร่วมลงทุน บุคคลทั่วไป
4
รัฐรู้ไปทำไม?
5
จะได้อะไรบ้างจากการทำ
ปริมาณสำรองของชั้นหินกักเก็บ ของหลุม ของแหล่ง ตลอดจนของประเทศ สามารถคาดการณ์การผลิตในอนาคตทั้งระยะสั้น กลางและระยะยาว ประมาณการรายได้เข้าสู่รัฐ เช่น ค่าภาคหลวง ภาษีเงินได้ การจัดสรรรายได้สู่ท้องถิ่น คุณลักษณะของแหล่งปิโตรเลียมในประเทศไทย ช่วยประกอบการพิจารณาอนุมัติคำขอพื้นที่ผลิตใหม่ ใช้วางแผนในการเปิดสัมปทานใหม่ บริหารการนำเข้าปิโตรเลียม
6
เพื่ออะไร ใช้ประโยชน์ในด้านการบริหาร การจัดการและการวางแผนจัดหาทรัพยากรปิโตรเลียมของประเทศ และรวมไปถึงการใช้เป็นเครื่องมือในการวางกลยุทธในด้านการจัดการทรัพยากรปิโตรเลียม (โดยเฉพาะอย่างยิ่งจะเป็นประโยชน์และสอดคล้องกับแนวทางในการปรับโครงสร้างกิจการก๊าซธรรมชาติของประเทศในระยะยาว ตามข้อเสนอของสำนักงานคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ โดยการขอความเห็นชอบในการดำเนินการคือให้ ปตท,อก และสพช./กพช. ทำหน้าที่ประมาณการอุปสงค์อุปทานของก๊าซธรรมชาติ เพื่อให้รัฐสามารถวางแผนการพัฒนาประเทศให้สอดคล้องกับแผนการนำทรัพยากรของประเทศมาใช้ประโยชน์ (การรายงานของผู้รับสัมปทานต่อกรมทรัพยากรธรณี ต้องอยู่ภายใต้ข้อกำหนดใน กฎกระทรวงฉบับที่ 18 (พ.ศ. 2534) ออกตามความในพระราชบัญญัติปิโตรเลียม พ.ศ โดยอาศัยอำนาจตามความในมาตรา14(1) แห่งพระราชบัญญัติปิโตรเลียม พ.ศ และมาตรา 42 ทวิ แห่งพระราชบัญญัติปิโตรเลียม พ.ศ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติปิโตรเลียม(ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2532)
7
เป้าหมายของการประเมินของบริษัท
ต้องการให้บริษัทมีผลกำไรสูงสุด ขยายและเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต เพิ่มส่วนแบ่งการตลาดหรือมูลค่าของทรัพย์สิน ปรับเปลี่ยนกิจกรรมการสำรวจและผลิต เพื่อความคงอยู่ของบริษัทแบบยั่งยืน สร้างโอกาสให้แก่บริษัทและทำให้โอกาสเป็นจริง
8
บริษัททำการประเมินเพื่อ
ทำการสำรวจและพัฒนาแหล่งปิโตรเลียม ให้ความเห็นแก่ฝ่ายจัดการเกี่ยวกับมูลค่าของแหล่งปิโตรเลียม ส่งรายงานให้องค์กรของรัฐตรวจสอบผลการดำเนินการและแผนงาน ออกแบบ ก่อสร้าง วางระบบและติดตั้งสิ่งอำนวยความสะดวก ประมาณค่าการตลาดของปิโตรเลียมที่จะซื้อหรือขาย เตรียมการทำสัญญาขาย อัตราการส่งขายและกำหนดราคา
9
ทำอย่างไร 1. ด้วยวิธีการเปรียบเทียบกับแหล่งข้างเคียง 2. โดยวิธีประเมินปริมาตร 3. ปริมาณการผลิตหรืออัตราการผลิตที่ลดลง 4. สมดุลย์ของสสาร 5. วิธีการทางคณิตศาสตร์
10
วิธีไหนดี
11
ลำดับการวิเคราะห์
12
เกี่ยวข้องกับอะไรและใครบัาง
ภายใน พรบ.ปิโตรเลียม ภายนอก บริษัทผู้รับสัมปทาน ส่านกำกับ ปตท ส่วนข้อมูล ส่วนจัดเก็บ บริษัท เงินทุน ส่วนนโยบาย บุคคลทั่วไป มาตรา (14) พ.ศ. 2514 กฏกระทรวง ฉบับที่ 18 (2534)
13
เราได้ทำอะไรไปบ้างแล้ว?
ประมาณค่าปริมาณสำรองปิโตรเลียมทุกแหล่งในประเทศไทย ศึกษาและจัดทำหลักเกณฑ์ในการแยกแยะปริมาณสำรอง เผยแพร่ในรายงานประจำปีเพื่อการชี้ชวนให้บริษัทเข้ามาสำรวจ จัดระบบแหล่งปิโตรเลียม จัดทำฐานข้อมูลการผลิตเพื่อการวิเคราะห์
14
ปัญหาและอุปสรรค ฐานข้อมูลการผลิตอยู่ระหว่างการปรับปรุง
การรับส่งข้อมูลยังไม่เต็มประสิทธิภาพ การศึกษาในรายละเอียดเกี่ยวกับแหล่งปิโตรเลียม
15
สิ่งที่เราจะทำต่อไป ศึกษาในรายละเอียดของแต่ละแหล่ง ทั้งด้านธรณีวิทยา ธรณีฟิสิกส์วิศวกรรมปิโตรเลียม วิศวกรรมการผลิต (ผนวกเศรษฐศาสตร์ปิโตรเลียม)
16
ทำไมเราถึงต้องทำ ให้ข้อเสนอแนะแก่ผู้บริหารเพื่อใช้ในการวางแผนและตัดสินใจ มาตรา 14(1) ในพรบ ปิโตรเลียม 2514 ติดตาม ตรวจสอบ ศึกษาและเปรียบเทียบกับรายงานของผู้รับสัมปทานต่อกรมทรัพยากรธรณี ตามกฎกระทรวงฉบับที่ 18 (2534) เนื้อหาสาระก็คือ………..
17
COMPARISON OF RESERVOIR PERFORMANCE ANALYSIS/RESERVES ESTIMATION TECHNIQUES
18
COMPARISON OF RESERVOIR PERFORMANCE ANALYSIS/RESERVES ESTIMATION TECHNIQUES
19
COMPARISON OF RESERVOIR PERFORMANCE ANALYSIS/RESERVES ESTIMATION TECHNIQUES
20
พยากรณ์การผลิตนานแค่ไหน
ปกติทั่วไปจะพยากรณ์ตลอดระยะเวลา 5ปีปฏิทิน ข้างหน้า ยกตัวอย่างเช่น DOE(……………..), UNOCAL, ยกเว้นบางบริษัทจะพยากรณ์มากกว่า 10 ปี เช่น ESSO, ปตท.สผ NPD จะพยากรณ์ 20 ปี ฉะนั้นจึงยังไม่มีมาตรฐานที่แน่ชัด
21
ทำไมถึงไม่พยากรณ์ยาวนาน
สถานการณ์การผลิตเปลี่ยนแปลงได้ตลอดเวลา ซึ่งจะทำให้เกิดความคลาดเคลื่อนได้สูงมาก
22
Y2K+1_FORECAST
23
ขออภัย ยังไม่สมบูรณ์ ยังไม่สมบูรณ์
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.