งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ข้อเข่าเสื่อม.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ข้อเข่าเสื่อม."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ข้อเข่าเสื่อม

2 ข้อเข่าเสื่อม เกิดจากอะไร ?
ข้อเข่าเสื่อม ยังไม่ทราบสาเหตุแน่ชัด อาจเกิดจาก... อายุที่มากขึ้น (มักพบในผู้ที่อายุ 40 ปีขึ้นไป) น้ำหนักตัวมาก พบในผู้หญิงมากกว่าผู้ชายถึง 3 เท่า จากการใช้ข้อไม่เหมาะสม สาเหตุอื่น ๆ เช่น อุบัติเหตุ การติดเชื้อในข้อ เป็นต้น

3 เกิดความเปลี่ยนแปลงอย่างไรต่อข้อเราบ้าง ?
เมื่อเกิดข้อเสื่อมจะเกิดการเปลี่ยนแปลงหลายๆ อย่าง ภายใน ข้อ เช่น กระดูกอ่อนผิวข้อบางลงและผิวไม่เรียบ มีกระดูกงอกบริเวณขอบๆ ข้อ และเกิดการสูญเสียคุณสมบัติของน้ำไขข้อปริมาณมากขึ้น แต่ ความยืดหยุ่นลดลง

4 อาการและอาการแสดงของโรคข้อเข่าเสื่อม(2)
ปวดข้อเข่า รู้สึกเมื่อย ตึงที่น่องและข้อพับเข่า ผิวหนังบริเวณข้ออุ่นหรือ ร้อนขึ้น ข้อขัด ข้อฝืด เหยียด-งอเข่าได้ไม่สุด มีเสียงดังในข้อเวลาขยับข้อเข่า

5 อาการและอาการแสดงของโรคข้อเข่าเสื่อม (2)
ข้อเข่าบวม หรือ มีก้อนถุงน้ำในข้อพับเข่า เข่าคดเข้า เข่าโก่งออกหรือมีกระดูกงอก ทำให้ข้อผิดรูปร่าง กล้ามเนื้อรอบข้อลีบเล็กลง ในระยะแรกมักจะเป็นไม่มาก แต่เมื่อข้อเสื่อมมากขึ้น ก็จะมี อาการบ่อยมากขึ้นหรือเป็นตลอดเวลา

6 เอกซเรย์ อาจจะพบความผิดปกติ
ช่องของข้อเข่าแคบลง มีกระดูกงอกตามขอบของกระดูกเข่าและกระดูกสะบ้า ความผิดปกติทางเอกซเรย์ ไม่สัมพันธ์กับอาการปวด บางคนเอกซเรย์พบว่าข้อเสื่อมมากโดยที่ไม่มีอาการปวด โดยทั่วไปแล้ว แพทย์สามารถวินิจฉัยว่าเป็นโรคข้อเข่าเสื่อมได้โดย ไม่จำเป็นต้องเอกซเรย์ ยกเว้นผู้ที่จะรักษาด้วยการ ผ่าตัดหรือผู้ที่รักษาแล้วอาการไม่ดีขึ้น

7 กระดูกพรุน

8 กระดูกพรุน คือ ? เป็นโรคที่พบได้ในผู้สูงอายุทุกคน สาเหตุที่สำคัญ อันหนึ่งคือ การทำงานของฮอร์โมนที่ลดลงในผู้สูงอายุ ทำให้การ เคลื่อนไหวลดลง แต่ผู้สูงอายุส่วนน้อยเท่านั้นที่มีอาการ เช่น ปวดหลัง หลัง ค่อม ทำให้ความสูงลดลงจนถึงกระดูกหักง่าย แม้มี อุบัติเหตุ เพียงเล็กน้อย เช่น หกล้มก็ตาม

9 สาเหตุของการเกิดโรคกระดูกพรุน(1)
การไม่ได้รับแคลเซียมที่เพียงพอ กรรมพันธุ์ ยา อาจเกิดจากการใช้ยาสำหรับโรคบางอย่างที่ นำสู่การลดความหนาแน่นของกระดูก กายภาพ การสูบบุหรี่ การดื่มสุราเป็นประจำ จะลด ประสิทธิภาพการดูดซึม ธาตุแคลเซียม ใน ร่างกาย ทำให้กระดูกเสื่อมและหดลงเร็ว

10 สาเหตุของการเกิดโรคกระดูกพรุน(2)
5. กาแฟ หรือเครื่องดื่มที่มีคาเฟอีนเช่น โค้ก, ชา เป็นต้น 6. ฮอร์โมน การลดลงของฮอร์โมนเอสโตรเจนในหญิงวัย หมดประจำเดือน 7. อาหารที่มีแคลเซียมต่ำ 8. การสูญเสียแคลเซียม ทางผิวหนัง ปัสสาวะและอุจจาระ 9. การไม่เคลื่อนไหวหรือออกกำลังกาย 10.ขาดวิตามินดี เพราะในวิตามินดีมีความจำเป็นในการดูด ซึมแคลเซียมไปใช้ อย่างมีประสิทธิภาพ

11 แนวทางการปฏิบัติตัว เพื่อป้องกันภาวะข้อเข่าเสื่อม
การลดน้ำหนัก การออกกำลังกายข้อเข่า การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดำเนินชีวิตประจำวัน ในปัจจุบันยังไม่สามารถรักษาโรคข้อเข่าเสื่อมให้หายขาดได้ จุดมุ่งหมายในการรักษาทุกวิธีก็คือ ลดอาการปวด ทำให้เคลื่อนไหวข้อได้ดีขึ้น ป้องกันหรือแก้ไขการผิดรูปร่างของข้อ เพื่อให้ผู้ป่วยสามารถดำเนินชีวิตประจำวันได้เป็นปกติ การกินยาแก้ปวด หรือ การผ่าตัด ถือว่าเป็นการรักษาที่ปลายเหตุ ถ้าผู้ป่วยยังไม่มีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในชีวิตประจำวัน และไม่บริหารข้อเข่า ผลการรักษาในอนาคตก็จะไม่ดีเท่าที่ควร

12 การลดน้ำหนัก การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเป็นส่วนหนึ่งที่สำคัญสำหรับผู้ป่วยโรคข้อเสื่อม ได้แก่ การควบคุมน้ำหนัก การลดน้ำหนัก เพื่อช่วยลดน้ำหนักที่กระทำต่อข้อและลดอาการปวดลง ผู้ป่วยโรคเข่าเสื่อมที่มีน้ำหนักเกินจึงควรปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการรับประทานอาหาร

13 การออกกำลังกายที่เหมาะสม
ควรทำ การเดิน การว่ายน้ำ โยคะ ไม่ควรทำ การออกกำลังกายที่มีการ วิ่งและกระโดด การออกกำลังกายกล้ามเนื้อต้นขาก็จะช่วยบรรเทาอาการปวด ช่วยเพิ่มช่วงของการเคลื่อนไหวของข้อ ไม่ให้ข้อยึดติด ผู้ป่วยควรหลีกเลี่ยงซึ่งจะทำให้ข้อได้รับความเสียหายมากขึ้น เช่น การวิ่ง หรือ เทนนิส การออกกำลังกายที่ควรกระทำสำหรับผู้ป่วยโรคข้อ ได้แก่การเดิน การว่ายน้ำ หรือโยคะ การออกกำลังกายในน้ำก็จะช่วยให้ข้อแข็งแรงมากยิงขึ้น ช่วยเสริมสร้างกล้ามเนื้อได้อีกด้วย

14 การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดำเนินชีวิตประจำวัน
ไม่ควรนั่งพับเพียบ นั่งขัดสมาธิ นั่งคุกเข่า นั่งยองๆ ไม่ควรนั่งพับเพียบ นั่งขัดสมาธิ นั่งคุกเข่า นั่งยองๆ เพราะท่าดังกล่าวจะทำให้ข้อเข่าเสียดสีกันและเสื่อมเร็วขึ้น

15 การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดำเนินชีวิตประจำวัน
ควรนั่งถ่ายบนโถนั่งชักโครก หรือ ใช้เก้าอี้ที่มีรูตรงกลาง ควรนั่งถ่ายบนโถนั่งชักโครก หรือ ใช้เก้าอี้ที่มีรูตรงกลาง วาง ไว้เหนือคอห่าน แทนการนั่งยอง ๆ ควรทำที่จับบริเวณด้านข้างโถนั่งหรือใช้เชือกห้อยจาก เพดาน เพื่อใช้จับพยุงตัว เวลาจะลงนั่งหรือจะลุกขึ้นยืน

16 การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดำเนินชีวิตประจำวัน
หลีกเลี่ยงการยืนหรือนั่งในท่าเดียวนาน ๆ หลีกเลี่ยงการยืนหรือนั่งในท่าเดียวนาน ๆ ถ้าจำเป็นควรเปลี่ยนท่าหรือขยับ เหยียด -งอ ข้อเข่าอยู่เรื่อยๆ

17 การป้องกันโรคกระดูกพรุน

18 กินอาหารให้ครบ 5 หมู่

19 ลดอาหารที่มีไขมันมาก

20 ออกกำลังกาย

21 งดสูบบุหรี่ งดเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ และคาเฟอีน
งดสูบบุหรี่ งดเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ และคาเฟอีน

22 ไม่ควรซื้อยากินเอง

23 ตรวจสุขภาพเป็นประจำทุกปี

24 การป้องกันโรคกระดูกพรุน
กินอาหารให้ครบ 5 หมู่ ลดอาหารที่มีไขมันมาก ออกกำลังกายอย่างถูกวิธี สม่ำเสมอ ควรงดสูบบุหรี่ งดเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ และคาเฟอีน ไม่ควรซื้อยากินเอง ตรวจสุขภาพเป็นประจำทุกปี การป้องกันโรคกระดูกพรุน ในคนปกติ หลังอายุ 40 ปี ความหนาแน่นของเนื้อกระดูกจะลดลง ดังนั้นจึงควรเสริมสร้างให้เนื้อกระดูกแข็งแรง โดยปฏิบัติดังนี้กินอาหารให้ครบ 5 หมู่ อาหารที่มีแคลเซียมสูง ได้แก่ นมและผลิตภัณฑ์จากนม กุ้งแห้ง กะปิ ปลาเล็กที่กินได้ทั้งก้าง งาดำ ถั่วต่างๆ เต้าหู้ ผักใบเขียวเช่น ผักโขม คะน้า ใบชะพลู ใบยอ ลดอาหารที่มีไขมันมาก เนื่องจากไขมันจะขัดขวางการดูดซึมแคลเซียม ออกกำลังกายอย่างถูกวิธี สม่ำเสมอ เหมาะสมกับสภาพร่างกาย เพศและวัย เช่น เดิน วิ่งเหยาะๆ รำมวยจีน เต้นรำ ควรงดสูบบุหรี่ งดเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ และคาเฟอีน ไม่ควรซื้อยากินเอง เพราะยาบางชนิดทำให้การดูดซึมแคลเซียมลดลง เช่น ยารักษาไทรอยด์ ยาสเตียรอยด์ ยาขับปัสสาวะ ตรวจสุขภาพเป็นประจำทุกปี

25

26 เอกสารอ้างอิง http://dpc10.ddc.moph.go.th/nana/doc16.html
m_content&view=article&id=8: &catid=19&Itemid=109&lang=en pl/articledetail.asp?id=154


ดาวน์โหลด ppt ข้อเข่าเสื่อม.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google