งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การทำฟลูอิดไดเซชันด้วยก๊าซ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การทำฟลูอิดไดเซชันด้วยก๊าซ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การทำฟลูอิดไดเซชันด้วยก๊าซ
Fluidization Laboratory All Design and Development by Food Engineering Department ปฏิบัติการเรื่อง การทำฟลูอิดไดเซชันด้วยก๊าซ

2 All Design and Development by Food Engineering Department
Fluidization Laboratory All Design and Development by Food Engineering Department วัตถุประสงค์ เพื่อให้นักศึกษา อธิบายหลักการของฟลูอิดไดเซชันได้ เขียนกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างความดันลดคร่อมเบดและความเร็วของของไหลได้ เปรียบเทียบค่าความดันลดคร่อมเบดและความเร็วต่ำสุดในการเกิดฟลูอิดไดเซชันที่ได้จากการทดลองและจากทฤษฎีได้

3 เครื่องมือและอุปกรณ์
Fluidization Laboratory All Design and Development by Food Engineering Department เครื่องมือและอุปกรณ์

4 All Design and Development by Food Engineering Department
Fluidization Laboratory All Design and Development by Food Engineering Department 1. เครื่องทำฟลูอิดไดเซชันด้วยลม

5 All Design and Development by Food Engineering Department
Fluidization Laboratory All Design and Development by Food Engineering Department 2. ขวดหาความถ่วงจำเพาะ

6 3. เม็ดพลาสติกรูปร่างกลม ประมาณ 1 กิโลกรัม
Fluidization Laboratory All Design and Development by Food Engineering Department 3. เม็ดพลาสติกรูปร่างกลม ประมาณ 1 กิโลกรัม

7 4. เวอร์เนียร์คาลิปเปอร์
Fluidization Laboratory All Design and Development by Food Engineering Department 4. เวอร์เนียร์คาลิปเปอร์

8 All Design and Development by Food Engineering Department
Fluidization Laboratory All Design and Development by Food Engineering Department 5. เครื่องวัดความเร็วลม (anemometer)

9 1. ศึกษาคุณสมบัติของอนุภาคและของไหล
Fluidization Laboratory All Design and Development by Food Engineering Department วิธีการทดลอง 1. ศึกษาคุณสมบัติของอนุภาคและของไหล

10 All Design and Development by Food Engineering Department
Fluidization Laboratory All Design and Development by Food Engineering Department 1.1 วัดเส้นผ่านศูนย์กลางเม็ดพลาสติก ประมาณ 10 เม็ด

11 ตารางที่ 1 การวัดเส้นศูนย์กลางของอนุภาค
Fluidization Laboratory All Design and Development by Food Engineering Department ตารางที่ 1 การวัดเส้นศูนย์กลางของอนุภาค ตัวอย่างที่ ความกว้าง (cm ) ความยาว (cm ) เฉลี่ย ( cm ) 1 2 3 4 5 6 7 9 10

12 All Design and Development by Food Engineering Department
Fluidization Laboratory All Design and Development by Food Engineering Department 1.2 หาความหนาแน่นของเม็ดพลาสติก โดยใช้ขวดหาความถ่วงจำเพาะ ตารางที่ 2 การหาความหนาแน่นของอนุภาค การชั่งน้ำหนัก น้ำหนัก ( g ) มวลขวดหาความถ่วงจำเพาะ (m1) มวลขวดหาความถ่วงจำเพาะและเม็ดพลาสติก (m2) มวลขวดหาความถ่วงจำเพาะ เม็ดพลาสติกและน้ำเต็มขวด(m3) มวลขวดหาความถ่วงจำเพาะและน้ำเต็มขวด (m4)

13 ตารางคุณสมบัติของอากาศ
Fluidization Laboratory All Design and Development by Food Engineering Department 1.3 หาความหนาแน่นและความหนืดของลม โดยการวัดอุณหภูมิอากาศแล้วนำไปอ่านค่าจากตารางคุณสมบัติของอากาศ ตารางคุณสมบัติของอากาศ

14 All Design and Development by Food Engineering Department
Fluidization Laboratory All Design and Development by Food Engineering Department 2. สร้างกราฟระหว่างความดันลดคร่อม flow meter และ ความเร็วลมในท่อเปล่า

15 All Design and Development by Food Engineering Department
Fluidization Laboratory All Design and Development by Food Engineering Department 2.1 ใช้หอทดลองเปล่าที่ยังไม่บรรจุอนุภาค เปิดวาล์วจนสุด เปิดสวิทซ์ให้ blower ทำงาน จากนั้นค่อยๆ ปิดวาล์วเพื่อปรับความเร็วลม สวิทช์ blower วาล์ว

16 อ่านความดันลดคร่อม flow meter
Fluidization Laboratory All Design and Development by Food Engineering Department 2.2 อ่านความดันลดคร่อม flow meter และค่าความเร็วลมที่วัดด้วย anemometer อ่านความดันลดคร่อม flow meter อ่านค่าความเร็วลมจาก anemometer

17 All Design and Development by Food Engineering Department
Fluidization Laboratory All Design and Development by Food Engineering Department 2.3 เพิ่มความเร็วลมขึ้นเรื่อยๆ จนได้ความเร็วลมประมาณ 10 ค่า

18 ตารางที่ 3 ความดันลดคร่อม flow meter และความเร็วลมในท่อเปล่า
Fluidization Laboratory All Design and Development by Food Engineering Department ตารางที่ 3 ความดันลดคร่อม flow meter และความเร็วลมในท่อเปล่า ครั้งที่ ความดันคร่อม flow meter (cmHg) ความเร็วลมในท่อเปล่า(m/s) 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

19 ความดันคร่อม flow meter (cmHg)
Fluidization Laboratory 2.4 เขียนกราฟความสัมพันธ์ระหว่างความดันลดคร่อม flow meter และความเร็วลม ในท่อเปล่า ความดันคร่อม flow meter (cmHg) ความเร็วลมในท่อเปล่า (m/s) All Design and Development by Food Engineering Department

20 3. การทำฟลูอิดไดเซชันเม็ดพลาสติกด้วยลม
Fluidization Laboratory All Design and Development by Food Engineering Department 3. การทำฟลูอิดไดเซชันเม็ดพลาสติกด้วยลม

21 3.1 บรรจุเม็ดพลาสติก ประมาณ 1 กิโลกรัม ลงในหอทดลอง
Fluidization Laboratory All Design and Development by Food Engineering Department 3.1 บรรจุเม็ดพลาสติก ประมาณ 1 กิโลกรัม ลงในหอทดลอง หอทดลอง

22 All Design and Development by Food Engineering Department
Fluidization Laboratory All Design and Development by Food Engineering Department 3.2 เปิดวาล์วจนสุด เปิดสวิทช์ให้ blower ทำงาน จากนั้นค่อยๆ ปิดวาล์วเพื่อเพิ่มความเร็วลม สวิทช์ blower วาล์ว

23 ความดันลดคร่อม flow meter
Fluidization Laboratory All Design and Development by Food Engineering Department 3.3 ที่ความเร็วลมแต่ละค่า ให้อ่านค่าความดันลดคร่อม flow meter ค่าความดันลดคร่อมเบด และวัดความสูงของเบด ความดันลดคร่อมเบด ความดันลดคร่อม flow meter

24 All Design and Development by Food Engineering Department
Fluidization Laboratory All Design and Development by Food Engineering Department บันทึกผลการทดลองในตารางที่ โดยสังเกตจุดที่เบดเริ่มเกิดฟลูอิดไดเซชัน เมื่อเบดเริ่มเกิดฟลูอิดไดเซชันแล้วให้เพิ่มความเร็วลมขึ้นเรื่อยๆ อีกประมาณ 5 ค่า สังเกตลักษณะของเบดที่เกิดขึ้น

25 ความดันคร่อม flow meter
Fluidization Laboratory All Design and Development by Food Engineering Department ตารางที่ 4 ความดันคร่อม flow meter ความดันคร่อมเบด ความสูงของเบด และความเร็วลม ความดันคร่อม flow meter ( cm Hg ) ความดันคร่อมเบด ความสูงของเบด u ( cm H2O ) ( m/s )

26 All Design and Development by Food Engineering Department
Fluidization Laboratory All Design and Development by Food Engineering Department เพิ่มความเร็วลมขึ้นเรื่อยๆ จนกระทั่งเกิดเป็นฟลูอิดไดซ์เบด แล้วให้ เพิ่มความเร็วลมขึ้นอีกประมาณ 5 ค่า สังเกตลักษณะเบดที่เกิดขึ้น และบันทึกผลการทดลอง

27 All Design and Development by Food Engineering Department
Fluidization Laboratory All Design and Development by Food Engineering Department 3.4 ค่อยๆ เปิดวาล์วเพื่อลดความเร็วลม ที่ความเร็วแต่ละค่าให้อ่านค่าความดันลดคร่อม flow meter ความดันลดคร่อมเบด และวัดความสูงของเบด บันทึกผลการทดลองในตารางที่ 4 โดยสังเกตจุดที่เบดกลับมาเป็นเบดนิ่งอีกครั้ง 3.5 จากเบดนิ่งที่ได้ ให้ทำการทดลองข้อ 3.3 และ 3.4 อีกครั้ง

28 All Design and Development by Food Engineering Department
Fluidization Laboratory All Design and Development by Food Engineering Department 3.6 วัดเส้นผ่านศูนย์กลางภายในของหอทดลอง และหาพื้นที่หน้าตัดของหอทดลอง

29 All Design and Development by Food Engineering Department
Fluidization Laboratory All Design and Development by Food Engineering Department 4. การนำเสนอผลการทดลอง

30 All Design and Development by Food Engineering Department
Fluidization Laboratory All Design and Development by Food Engineering Department 4.1 สร้างกราฟความสัมพันธ์ระหว่างความดันลดคร่อมเบดและความเร็วลม อ่านค่าความดันลดคร่อมเบดต่ำสุดในการเกิดฟลูอิดไดเซชัน และความเร็ว ต่ำสุดในการเกิดฟลูอิดไดเซชัน จากกราฟ ความดันลดคร่อมเบด (P) และความสูงของเบด (L) Fixed bed Fluidized bed L P น้ำหนักปรากฏของเบด ความเร็วลม (u)

31 All Design and Development by Food Engineering Department
Fluidization Laboratory All Design and Development by Food Engineering Department 4.2 คำนวณค่าความดันลดคร่อมเบดต่ำสุดในการเกิดฟลูอิดไดเซชัน จาก สมการ และคำนวณค่าความเร็วต่ำสุดในการเกิดฟลูอิดไดเซชัน จากสมการ

32 All Design and Development by Food Engineering Department
Fluidization Laboratory All Design and Development by Food Engineering Department 4.3 เปรียบเทียบค่าที่ได้จากข้อ 4.1 และข้อ 4.2

33 All Design and Development by Food Engineering Department
Fluidization Laboratory All Design and Development by Food Engineering Department จบการบรรยาย


ดาวน์โหลด ppt การทำฟลูอิดไดเซชันด้วยก๊าซ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google