ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยSasi Chaipatana ได้เปลี่ยน 9 ปีที่แล้ว
1
การส่งผ่านข้อมูลดิจิตอลและการอินเตอร์เฟซ tranmission of digital data and interfaces
2
วัตถุประสงค์ อธิบายหลักการส่งข้อมูลแบบขนานและแบบอนุกรมได้
เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างอะซิงโครนัส ซิงโครนัส และ ไอโซโครนัสได้ บอกทิศทางการส่งผ่านข้อมูลได้ อธิบายการเชื่อมต่อความเร็วสูงระหว่าง Firewire และ USB อธิบายรายละเอียดของเทคโนโลยี DSL
3
การส่งผ่านข้อมูลดิจิตอล (digital data transmission)
การเข้ารหัส ข้อมูลให้เป็นสัญญาณ ส่งสัญญาณผ่านสื่อกลาง เช่น สาย คลื่น ปลายทางถอดรหัสสัญญาณเป็นข้อมูลเดิม สัญญาณแต่ละชนิดคุณสมบัติต่างกัน
4
ข้อดีของการส่งผ่านข้อมูลดิจิตอล
มีข้อผิดพลาดน้อยกว่า ข้อมูลอยู่ในรูปแบบไบนารี ตรวจสอบแก้ไขง่าย ทนต่อสัญญาณรบกวนได้ดี การจัดการสัญญาณทำได้ง่าย มีอัตราความเร็วในการส่งข้อมูลสูง มีประสิทธิภาพสูง มีความปลอดภัย
5
การส่งข้อมูลแบบขนาน (parallel transmission)
ส่งทีละหลาย ๆ บิตพร้อมกัน แต่ละบิตจะถูกส่งไปยังแต่ละช่องทางขนานกันไป
6
ข้อดีและข้อเสียการส่งข้อมูลแบบขนาน (parallel transmission)
มีความรวดเร็ว เพราะส่งพร้อมกัน ข้อเสีย ต้นทุนสูง เพราะต้องมีหลายช่องทางถึง 8 ช่องทาง เหมาะสมกับระยะทางใกล้ ๆ ถ้าส่งไกลข้อมูลอาจมีความผิดพลาดเพราะมีการเหลื่อมล้ำกัน ไม่พร้อมกัน
7
การส่งข้อมูลแบบอนุกรม (serial transmission)
ส่งด้วยช่องทางการสื่อสารเดียว ส่งทีละหนึ่งบิต ปลายทางทำการรวบรวมบิตเพื่อนำไปใช้งาน ข้อดี ประหยัดสายสื่อสาร ส่งข้อมูลในระยะสั้นจนถึงระยะทางไกล ข้อเสีย ความล่าช้าในการส่งข้อมูล มีช่องทางเดียว
9
การส่งข้อมูลแบบอะซิงโครนัส (asynchronous transmission)
เพื่อหลีกเลี่ยงปัญหาด้านเวลาที่ฝั่งรับไม่ทราบเวลาที่แน่นอน ไม่ต้องใช้สัญญาณรอบนาฬิกาเดียวกัน สภาวะนิ่งเฉย ไม่มีการส่งข้อมูลมีค่าเป็น 1 ถ้ากำลังส่งข้อมูลมีค่าเป็น 0 บิตเริ่มต้น (Start Bit) บิตจบ (Stop Bit)
11
ข้อดีของการส่งข้อมูลแบบอะซิงโครนัส (asynchronous transmission)
ความคล่องตัวสูง ส่งข้อมูลโดยไม่ต้องรอจังหวะสัญญาณนาฬิกา ต้นทุนต่ำ ประสิทธิภาพสูง กับอุปกรณ์ความเร็วต่ำ ข้อเสีย ต้องมีบิตมากมายพ่วงไปกับข้อมูล ฝั่งรับต้องสูญเสียเวลาในการถอดบิต
12
การส่งข้อมูลแบบซิงโครนัส (synchronous transmission)
เป็นการส่งกลุ่มข้อมูลแบบต่อเนื่องกันไป การรวมกลุ่มข้อมูลให้มีขนาดใหญ่ เรียกว่า “เฟรม” มีจำนวนมากกว่า 1000 บิต ฝั่งรับมีหน้าที่นับจำนวนบิตแล้วแปลงเป็นจำนวนไบต์เอง ไม่มีช่องว่าง ไม่มีบิตเริ่มต้น ไม่มีบิตจบ การควบคุมจังหวะจึงมีความสำคัญมาก ข้อดี มีความเร็วสูง เพราะส่งอย่างต่อเนื่อง เหมาะกับอุปกรณ์ที่มีความเร็วสูง เช่น ในระบบเครือข่ายท้องถิ่น
14
ทิศทางการส่งข้อมูล (transmission mode)
การสื่อสารแบบซิมเพล็กซ์ (Simplex) การสื่อสารแบบฮาล์ฟดูเพล็กซ์ (Half-Duplex) การสื่อสารแบบฟูลดูเพล็กซ์ (Full-Duplex)
15
การสื่อสารแบบซิมเพล็กซ์ (Simplex)
เป็นการสื่อสารทิศทางเดียว ฝ่ายหนึ่งส่งก็ส่งอย่างเดียว ฝ่ายหนึ่งมีหน้าที่รับอย่างเดียว คีย์บอร์ด จอภาพ การกระจายเสียง การแพร่ภาพ การส่งข้อความ เพจเจอร์
16
การสื่อสารแบบฮาล์ฟดูเพล็กซ์ (Half-Duplex)
เป็นได้ทั้งผู้ส่งแล้วผู้รับ แต่ไม่ใช่รับส่งข้อมูลในเวลาเดียวกัน แบบสองทิศทางสลับกัน สลับกันส่งและสลับกันรับ เช่น วิทยุสื่อสาร
17
การสื่อสารแบบฟูลดูเพล็กซ์ (Full-Duplex)
แบบสองทิศทางในเวลาเดียวกัน สื่อสารพร้อมกันได้ เช่น โทรศัพท์
18
อินเตอร์เฟซ EIA-232 หรือ rs-232
EIA = Electronic Industries Association : EIA) ชื่อเดิม = RS-232 (Recommended standard) แบบ 25 เข็ม และ 25 ซ็อกเก็ต
20
อินเตอร์เฟซความเร็วสูง (high-speed interface protocal)
Firewire USB
21
firewire สนับสนุนการเชื่อมต่อแบบอะซิงโครนัสและไอไซโครนัส
ความเร็วมีอัตราคงที่ มีความเสถียร มาตรฐาน IEEE 1394 มีขนาด 4-pin และ 6-pin Firewire IEEE-1394a มีความเร็ว 400 Mbps Firewire IEEE-1394b มีความเร็ว 800 Mbps ความเร็วสูงสุด 3.2 Gbps สนับสนุน “Plug and Play” รวมถึง “Hot Plug”
23
Firewire ภายใน สายสัญญาณพาวเวอร์จำนวน 2 เส้น กำลังไฟ 8-40 โวลต์
คู่ที่ 1 ส่งสัญญาณบวก ใช้ในการส่งข้อมูล คู้ที่ 2 ส่งสัญญาณลบ ใช้ส่งสัญญาณนาฬิกาอย่างต่อเนื่อง ไม่ได้ส่งขนานกันไป
24
USB (universal serial bus)
เป็นอินเตอร์เฟซสำหรับเชื่อมต่ออุปกรณ์ มีความยืดหยุ่น สนับสนุนการทำงานแบบ Plug and Play Host End และ Device End มี Type A , Type B , Type Mini USB 1.1 ความเร็ว 12Mbps USB 2.0 ความเร็ว 480Mbps
25
องค์ประกอบภายในของสาย USB
GND = สายกราวด์ VBUS = ส่งกำลังไฟฟ้าขนาด 5 โวลต์ไปยังอุปกรณ์ D+ = สัญญาณบวก D- = สัญญาณลบ
26
โมเด็ม DSL (dsl modem) DSL (Digital Subscriber Line) การสื่อสารด้วยดิจิตอลความเร็ว สูง ใช้ควบคู่กับโครงข่ายโทรศัพท์แบบเดิม ใช้เทคนิคการมอดูเลตในย่านความถี่สูง สามารถใช้งานได้ในขณะเดียวกัน
27
ADSL (asymmetric digital subscriber line)
คล้ายกับโมเด็ม 56 K มีความเร็วสูงกว่า Upstream และ Downstream มีความเร็วไม่ เท่ากัน ใช้สายโทรศัพท์เดิม 1.5 – 6.1 Mbps
28
ADSL Lite อนุญาตให้โมเด็ม ADSL Lite เสียบปลั๊กกับพอร์ตโทรศัพท์ โดยตรง
เชื่อมต่อไปยังคอมพิวเตอร์ Splitter ความเร็ว 1.5 Mbps
29
HDSL (high-bit-rate digital subscriber line)
ส่งข้อมูลผ่านสาย T-1 (1.544 Mbps) เข้ารหัสแบบ AMI (Alternate Mark Inversion) อ่อนไหวต่อการลดทอนสัญญาณ มีข้อจำกัดทางระยะทาง ใช้สายคู่บิดเกลียว 2 คู่ ส่งข้อมูลแบบฟูลดูเพล็กซ์
30
VDSL (very-high-bit-rate digital subscriber line)
ใช้สายโคแอกเชียล ไฟเบอร์ออปติก สายคู่บิดเกลียวในระยะสั้น ๆ ใช้การมอดูเลตแบบ DMT 25-55 Mbps ในระยะ 3000 – ฟุต ส่งข้อมูลความเร็วปกติ 3.2 Mbps
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.