ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยSawatdi Banruerit ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
โครงการข้อมูลท้องถิ่น ต.ขามเรียง อ.กันทรวิชัย จ.มหาสารคาม
บ้าน ดอนหน่อง หมู่ 16 ต.ขามเรียง อ.กันทรวิชัย จ.มหาสารคาม จัดทำโดย นาย ณัฐพงศ์ อินทรเกษร
2
ประวัติหมู่บ้าน บ้านดอนหน่องได้ก่อตั้งขึ้นเมื่อประมาณ 164 ปีมาแล้ว ประมาณปี พ.ศ.2380 ได้มีนายฝ้าย สีสะวะ และ ราษฎรบ้านโคกแต้ อ.กมลาไสย จ.กาฬสินธุ์ อพยพ มาตั้งถิ่นฐานนะที่แห่งนี้ เนื่องจากมีคูขาดและลำห้วยสายคอไหลผ่าน บริเวณ แห่งนี้มีพันธ์ไม้ชนิดต่างๆมากมาย แต่มีพันธ์ไม้ชนิดหนึ่งซึ่งมีมากกว่าชนิด อื่นๆ คือพันธ์ไม้หน่อง จึงได้ตั้งชื่อหมู่บ้านแห่งนี้ว่า บ้านดอนหน่อง เริ่มก่อตั้ง หมู่บ้านในตอนแรกมี 17 ครอบรัวและมี นายฝ้าย สีสะวะ เป็นผู้ใหญ่บ้านคน แรก
3
การก่อตั้งบ้านดอนหน่องหมู่ 16
เมื่อบ้านดอนหน่องมีประชากรภายในหมู่บ้านเพิ่มมากขึ้น ทางราชการเห็นว่า เป็น การยากที่จะปกครองอย่างทั่วถึง จึงได้แยกการปกครองบ้านดอนหน่องออกเป็น 2 หมู่บ้าน คือ บ้านดอนหน่อง หมู่ที่ 8 และหมู่ที่ 16 ขึ้น โดยใช้เส้นทางหลวงชนบท มค.3038-ดอนหน่อง เป็นเส้นแบ่งแยกการปกครอง โดยให้หมู่ที่ 8 อยู่ทางทิศ ตะวันตก ส่วนหมู่ที่ 16 อยู่ทางทิศตะวันออก มีราษฎรทั้งหมด 95 คน บ้านดอนหน่อง เดิมขึ้นอยู่กับ ต.คันธารราษฎร์ อ.กันทรวิชัย จ.มหาสารคาม และ ต่อมาได้ย้ายมาขึ้นกับ ต.ท่าขอนยาง และทางราชการได้แบ่งแยกการปกครองโดย ตั้งตำบลใหม่ขึ้นมาทางราชการจึงให้สังกัด ต.ขามเรียง จนกระทั่งปัจจุบัน
4
รายนามผู้ดำรงตำแหน่งผู้ใหญ่บ้าน บ้านดอนหน่อง
1.นาย ฝ้าย สีสะวะ ปี พ.ศ นาย จ่อย เผ้าหอม ปี พ.ศ นาย มี ไชยดา ปี พ.ศ นาย แสง ไชยดา ปี พ.ศ นาย ลิตร ช่างทองคำ ปี พ.ศ นาย อินทร์ ไชยดา ปี พ.ศ รายนามผู้ดำรงตำแหน่งผู้ใหญ่บ้าน บ้านดอนหน่อง หมู่ 16 1.นาย หนู แสงจันดา ปี พ.ศ นาย บัวลา ขาวลา ปี พ.ศ นาย สุปัน สีมาตย์ ปี พ.ศ นาย บุญเลี้ยง วรรณภักดิ์ ปี พ.ศ นาย บุญถม ผิวผุย ปี พ.ศ.2553 คนปัจจุบัน
5
ลักษณะภูมิประเทศของบ้านดอนหน่อง
บ้านดอนหน่องมีพื่นที่ทั้งหมด 1,430 ไร่ เป็นที่อยู่อาศัย 150 ไร่ เป็นที่ทำ การเกษตร 1,261 ไร่ ที่สาธารณะประโยชน์ 19 ไร่ ลัษณะหมู่บ้านมีพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบลุ่ม ดินร่วนปนทราย ห่างจาก อ.กันทรวิชัย ประมาณ 11 กิโลเมตร มีอาณาเขตติดต่อกัน ดังนี้ ทิศเหนือ ติดกับบ้านหนองขาม ต.ขามเรียง อ.กันทรวิชัย จ.มหาสารคาม ทิศใต้ ติดต่อกับมหาวิทยาลัยมหาสารคามและบ้านท่าขอนยาง ทิศตะวันออก ติดต่อกับบ้านดอนเวียงจันทร์และบ้านหัวขัว ต.ท่าขอนยาง อ.กันทรวิชัย จ.มหาสารคาม ทิศตะวันตก ติดต่อกับ บ้านโนนสะแบง ต.ขามเรียง อ.กันทรวิชัย จ.มหาสารคาม
6
ประชากร / ครัวเรือน การศึกษา
จำนวน 125 ครอบครัว ประชากรชาย 230 คน ประชากรหญิง 197 คน รวมประชากร 427 คน ผู้สูงอายุ 53 คน ผู้พิการ 2 คน การศึกษา ไม่ได้เรียนหนังสือ – คน ประถมศึกษา คน มัธยมศึกษา 35 คน อนุปริญญา 9 คน ปริญญาตรี 21 คน สูงกว่าปริญญาตรี 2 คน
7
การประกอบอาชีพ ภาคการเกษตร - ทำไร่ ครัวเรือน - ทำนา ครัวเรือน - ทำสวน ครัวเรือน - เลี้ยงสัตว์ ครัวเรือน - ประมง ครัวเรือน นอกภาคการเกษตร - ค้าขาย ครัวเรือน - บริการ ครัวเรือน - รับจ้าง ครัวเรือน - รับราชการ ครัวเรือน - ลูกจ้างเอกชน ครัวเรือน - ว่างงาน ครัวเรือน - ไปประกอบอาชีพที่อื่น -
8
ความรู้ด้านภูมิปัญญาท้องถิ่น
แพทย์แผนไทย / สมุนไพร 1. นายคำมา วงษ์ช่าง มีความรู้และความสามารถด้านการทำสมุนไพร 2. นางสีดา ทะลาศรี มีความสามารถด้านนวดแผนไทย 3. นางทองมา ชินช้าง มีความสามารถด้านนวดแผนไทย ผู้อนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรม โหราศาสน์ / หมอศูตร 1. นายจันทรา ไชยดา มีความสามารถด้านศาสนา
9
สถานที่สำคัญในหมู่บ้าน โรงเรียน แห่ง วัด/มัสยิด/โบสถ์ แห่ง ตลาด แห่ง ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก แห่ง โรงพยาบาล / สถานีอนามัย แห่ง สถานีวิทยุ / หอกระจายข่าว แห่ง สนามกีฬา แห่ง ศาลากลางบ้าน / ศูนย์การเรียนรู้ แห่ง แหล่งท่องเที่ยว แห่ง ร้านค้า / ร้านอาหาร แห่ง สวนสาธารณะ / สนามเด็กเล่น แห่ง
13
ศิลปวัฒนธรรม / ประเภณีสำคัญ ฮีตสิบสองคลองสิบสี่ ประเภณีบุญมหาชาติ สงกรานต์ บุญบั้งไฟ
บุญเข้าพรรษา ออกพรรษา ตักบาตรเทโว บุญกฐิน ลอยกระทง บุญข้าวจี่ บุญสรงน้ำ บุญข้าวสาก
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.