งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การดำเนินงานสุขภาพจิตเครือข่าย ในเขตสุขภาพที่10 ปีงบประมาณ 2558

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การดำเนินงานสุขภาพจิตเครือข่าย ในเขตสุขภาพที่10 ปีงบประมาณ 2558"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การดำเนินงานสุขภาพจิตเครือข่าย ในเขตสุขภาพที่10 ปีงบประมาณ 2558
การดำเนินงานสุขภาพจิตเครือข่าย ในเขตสุขภาพที่10 ปีงบประมาณ 2558 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพจิตและจิตเวช วัตถุประสงค์ : เพื่อให้ประชาชนได้รับการดูแลและเข้าถึงบริการ สุขภาพจิตทั้งในภาวะปกติและภาวะวิกฤติ ประเด็น: งานบริการโรคจิตเวชที่สำคัญ 1.เพิ่มการเข้าถึงผู้ป่วยโรคจิตในพื้นที่และได้รับการดูแล อย่างต่อเนื่อง 2. เพิ่มการเข้าถึงผู้ป่วยโรคซึมเศร้า

2 เพิ่มการเข้าถึงผู้ป่วยโรคจิตในพื้นที่ และได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่อง
เพิ่มการเข้าถึงผู้ป่วยโรคจิตในพื้นที่ และได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่อง ผู้ป่วยโรคจิต หมายถึง ประชาชนที่ป่วยได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคจิต หมวด F 20-29 การเข้าถึงบริการเพิ่มขึ้น หมายถึง ผู้ที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคจิต ได้รับการดูแลรักษาด้วยวิธีการแพทย์ จิตบำบัด เภสัชบำบัด การรักษาด้วยไฟฟ้า การได้รับการดูแลต่อเนื่องเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการรักษา หมายถึง ผู้ป่วยโรคจิตที่รักษาอาการสงบแล้วตามฐานข้อมูลในพื้นที่ ได้รับการติดตามดูแล เรื่อง การกินยา การประเมินและจัดการปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้กลับเป็นซ้ำ เฝ้าระวังและจัดการอาการที่บ่งว่ากำเริบซ้ำ

3 แนวทางการดำเนินงาน กำหนดอำเภอนำร่อง 1 อำเภอต่อ 1 จังหวัด คือ
กำหนดอำเภอนำร่อง 1 อำเภอต่อ 1 จังหวัด คือ 1. มุกดาหาร : อำเภอหนองสูง 2. ศรีสะเกษ : อำเภอขุขันธ์ 3. ยโสธร : อำเภอมหาชนะชัย 4.อำนาจเจริญ : อำเภอหัวตะพาน 5.อุบลราชธานี : อำเภอเดชอุดม

4 แนวทางการดำเนินงาน 2. ผู้รับผิดชอบสารสนเทศ รพ พศ./ สสจ./ รพท/รพช นำร่อง ค้นหาข้อมูลผู้มารับบริการ รพ จิตเวช และบันทึกใน Data center เพื่อเป็นฐานข้อมูลโรคจิตก่อนดำเนินโครงการนำร่อง 3.จัดประชุมชี้แจงการดำเนินโครงการในพื้นที่นำร่อง กับผู้รับผิดชอบงานใน รพช/รพท สสอ รพสต. 4. สร้างระบบบัญชียาและจัดเตรียมระบบรับส่งยาในพื้นที่นำร่อง 5.แจ้งชื่อเพื่อจัดทำเนียบผู้รับผิดชอบ ได้แก่ แพทย์ พยาบาลนักวิชาการ เจ้าพนักงานสาธารณสุข ที่ผ่านการอบรมเรื่องโรคจิต (Psy2/58)

5 แนวทางการดำเนินงาน 6. จัดกิจกรรมรณรงค์ การเข้าถึงโรคจิต เช่นรณรงค์การคัดกรอง 7. การดำเนินงาน 7.1 รพสต.คัดกรองประชาชน โดย อสม. ใช้แบบคัดกรอง ถ้าเสี่ยงหรือ Positive ส่งต่อรพสต. เพื่อประเมินซ้ำ 7.2 รพสต ประเมินซ้ำถ้า Positive ส่งต่อแพทย์ผู้รับผิดชอบในรพร/รพช ตรวจวินิจฉัยโรคและบำบัดรักษาตามมาตรฐานวิชาชีพ และแนวปฏิบัติ หรือส่งต่อ 7.3 รพร/รพช สร้างระบบการรับยาเดิม และติดตามผู้ป่วยที่ขาดยาเกิน 3 เดือน

6 7.4 ลงบันทึกข้อมูล 43 แฟ้ม เพื่อประมวลผลเพิ่มการเข้าถึงโรคจิต เป้าหมายทั้งเขต ร้อยละ 45 เป้าหมายโครงการเพิ่มขึ้น ≥ ร้อยละ การรวบรวมผลการดำเนินงาน ในแบบบันทึก -ทะเบียนรายชื่อผู้ป่วยโรคจิต ในพื้นที่นำร่อง (Psy 3/58) -ทะเบียนรายชื่อ และการติดตามดูแลผู้ป่วยที่ขาดยาเกิน 3 เดือน (Psy 4/58) 7.6 เครื่องมือ สื่อที่ใช้ แบบคัดกรองโรคจิต

7 การคำนวณผู้ป่วยโรคจิต
จังหวัด ปชก กลางปี ความชุกคาดว่าจะป่วย การเข้าถึง ปี 2557 มุกดาหาร ศรีสะเกษ ยโสธร อำนาจเจริญ อุบลราชธานี

8 2. เพิ่มการเข้าถึงผู้ป่วยโรคซึมเศร้า
การดำเนินงาน ทบทวนข้อมูลการเข้าถึงโรคซึมเศร้าจังหวัดที่ยังไม่บรรลุเป้าหมายปี 2558 ร้อยละ37 และเพิ่มการเข้าถึงใน จังหวัดที่บรรลุเป้าหมายจาก สำรวจบุคลากรสาธารณสุขในหน่วยงานที่ยังไม่ผ่านการพัฒนาศักยภาพด้านโรคซึมเศร้า และลงในทำเทียบให้เป็นปัจจุบัน เข้ารับการพัฒนาศักยภาพในผู้ที่ยังไม่ผ่าน จัดให้มีการคัดกรอง ผู้มารับบริการในกลุ่มเสี่ยง เช่นกลุ่มสูงอายุ ncd สุรา สารเสพติด ด้วย 2 Q 9Q

9 2. เพิ่มการเข้าถึงผู้ป่วยโรคซึมเศร้า
5. ส่งพบแพทย์เพื่อการวินิจฉัยโรค และให้การบำบัดรักษาตามแนวทางปฏิบัติ CNPG 6. การดูแลต่อเนื่อง และติดตามประเมินผลการรักษา หรือส่งต่อตามเกณฑ์ 7.บันทึกข้อมูล ในโปรแกรม


ดาวน์โหลด ppt การดำเนินงานสุขภาพจิตเครือข่าย ในเขตสุขภาพที่10 ปีงบประมาณ 2558

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google