ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
รศ.ดร. เปรื่อง กิจรัตน์ภร
การบริหารความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง (Conflict Management and negotiation) รศ.ดร. เปรื่อง กิจรัตน์ภร
2
ความขัดแย้ง หมายถึง ทัศนคติและพฤติกรรมของบุคคล หรือ
กลุ่มบุคคลที่มีความสนใจ หรือมีพฤติกรรมแตกต่าง กัน ไม่ลงรอยกัน และผลประโยชน์ไม่เอื้อต่อกัน
3
ลักษณะของความขัดแย้ง
ทัศน คติระหว่างบุคคลหรือกลุ่ม พฤติ กรรมระหว่างบุคคลหรือกลุ่ม ทัศนคติ/ กรรมระหว่างบุคคล หรือกลุ่มไม่สอด คล้องกัน แสดงพฤติ กรรมทางลบ ความขัดแย้ง
4
ประเภทของความขัดแย้ง
ระหว่างบุคคล ภายในกลุ่ม ระหว่างกลุ่ม ภายในองค์กร ระหว่างองค์กร ภายในบุคคล
5
ลำดับขั้นของความขัดแย้ง
ระยะแฝงภายใน ระยะที่รับรู้ได้ ระยะที่รู้สึกได้ ระยะแสดงให้เห็นชัดเจน ระยะที่แสดงผลกระทบ การแก้ปัญหา
6
ผลลัพธ์ของความขัดแย้ง
ด้านบวก ด้านลบ 1. มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ 1. ประสิทธิภาพการทำงานลดลง 2. องค์กรมีการเปลี่ยนแปลงดีขึ้น 2. บุคลากรไม่พอใจซึ่งกันและกัน 3. ลดความเสี่ยง และความล้มเหลว 3. เพิ่มความกดดันในองค์กร 4. มีความกระตือรือร้นในการทำงาน 4. เกิดความไม่ไว้วางใจซึ่งกัน
7
วิธี (กลยุทธ์) การจัดการกับความขัดแย้ง
ประนีประนอม ความร่วมมือกัน (ชนะ-ชนะ) การยินยอม (แพ้-ชนะ) การหลีกเลี่ยง (แพ้-แพ้) การแข่งขัน (ชนะ-แพ้) สูง การรักษา ผลประโยชน์ ต่ำ ยินยอม/ร่วมมือ
8
การเจรจาต่อรอง หมายถึง กระบวนการที่บุคคลตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป มี การเจรจาแลกเปลี่ยนผลประโยชน์ระหว่างกัน ซึ่ง ผลประโยชน์ดังกล่าว อาจเป็นวัตถุสิ่งของ บริการ หรือการตอบแทนใดๆ เพื่อทุกอย่างจะหาข้อยุติ ร่วมกัน
9
กรอบแนวคิดในการต่อรอง
ใช้ความสัมพันธ์อันดีกับคู่เจรจาเพื่อต่อรอง ใช้ปัจจัยเชิงวัตถุเป็นเครื่องต่อรอง ใช้ความรู้สึก หรืออารมณ์ตัดสินความขัดแย้ง ใช้เหตุผลและปัญญาในการเจรจาต่อรอง พยายามให้มีผลประโยชน์ทั้งสองฝ่าย พยายามให้ผลประโยชน์สูงสุดแก่ส่วนรวม
13
สวัสดี และ ขอให้โชคดี
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.