ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยSongsuda Kongsangchai ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
QA ready ภาควิชาโสต ศอ นาสิกวิทยา 16 มกราคม 2556 เวลา 13:40-13:50
2
โอกาสพัฒนา : องค์ประกอบที่ 1 ขาดแผน ระบบสารสนเทศ
3
แนวทางแก้ไข มีแผนการพัฒนาโครงสร้างเทคโนโลยีสารสนเทศให้ รองรับทุกพันธกิจอย่างมีประสิทธิภาพ ( เอกสาร 5) ได้แก่ 1. โครงการจัดหาเครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องพิมพ์และ อุปกรณ์ประกอบ ทดแทนของเดิมที่หมดสภาพเนื่องจากใช้ งาน > 5 ปี 2. โครงการจัดซื้อเครื่องคอมพิวเตอร์ประจำห้องสมุด ภาควิชาฯ 3. โครงการพัฒนา website ของภาควิชาฯ 4. มีการเพิ่ม internet wifi access ที่ OPD เพื่อให้นักศึกษา แพทย์ / แพทย์เฉพาะทาง ได้สืบค้นหาความรู้เพิ่มเติม
4
โอกาสพัฒนา : องค์ประกอบที่ 2 1. ควรมีการสัมมนาเพื่อเพิ่มตำแหน่งทางวิชาการ ให้แก่คณาจารย์ 2. ควรนำผลการประเมินการใช้ห้องเรียน เช่น ความสว่างและความคับแคบของห้องมาทำ แผนปรับปรุง 3. การจัดบริการเครื่องคอมพิวเตอร์แก่ นักศึกษา แพทย์ให้เพียงพอ
5
แนวทางแก้ไข 1. ทางคณะแพทย์มีการจัดประชาพิจารณ์เรื่องการ เข้าสู่ตำแหน่งวิชาการไปแล้ว ขณะนี้กำลัง ดำเนินงานในการปรับเปลี่ยนข้อกำหนดเพื่อเสนอ ต่อสภามหาวิทยาลัย 2. มีการเปิดใช้ห้องสอนนักศึกษาที่ ward ใหม่ สำหรับการสอน teaching round/ward work ซึ่ง เริ่มใช้มาตั้งแต่กลางปี 55 3. ขณะนี้โครงการจัดหาระบบสารสนเทศเพื่อ การศึกษา ซึ่งเป็นยุทธศาตร์ระดับคณะ ( เอกสาร 6)
6
โอกาสพัฒนา : องค์ประกอบที่ 5 ควรมีการบูรณาการงานบริการทางวิชาการกับการ เรียนการสอนและวิจัย
7
แนวทางแก้ไข มีการนำ 2%xylocaine with adrenaline มาใช้ แทน Cocaine ในการ pack จมูกก่อนการส่องกล้อง โดยได้นำมาศึกษาเป็นงานวิจัย ซึ่งตีพิมพ์ในวชิร เวชสารแล้ว และนำมาใช้สอนนักศึกษาแพทย์ปี 5 ในหัวข้อ nasal packing( เอกสาร 4)
8
โอกาสพัฒนา : องค์ประกอบที่ 7 1. ควรมีการบันทึกความรู้ (KM) เช่น การจัด morning conference, mortality conference และจัดเก็บให้เป็นระบบเพื่อใช้ในการค้นคว้า อ้างอิง สำหรับแพทย์ประจำบ้าน / อาจารย์ 2. ควรมีการวิเคราะห์ความเสี่ยงในด้านอื่น ๆ นอกเหนือความเสี่ยงด้านการศึกษาและรายงาน ในคณะกรรมการบริหารภาควิชา เช่น ความเสี่ยง ทางด้านคลินิก ความเสี่ยงด้านการปฏิบัติงานของ นักศึกษาแพทย์
9
แนวทางแก้ไข 1. มีการบันทึกความรู้ที่ได้จากกิจกรรม journal club ทุกสัปดาห์ ( เอาสาร 1 และ 2) ซึ่งได้เริ่มเก็บ รวบรวมตั้งแต่ กค 55 2. มีการประเมินความความเสี่ยงทางการ ปฏิบัติงานโดยมีการเริ่มใช้แบบประเมินการตรง ต่อเวลาของนักศึกษาแพทย์ ( เอกสาร 3)
10
ตอบคำถาม ???
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.