งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ระบบบัญชีเดี่ยวและสินค้า

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ระบบบัญชีเดี่ยวและสินค้า"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ระบบบัญชีเดี่ยวและสินค้า
บทที่ 9 การบันทึกบัญชีสินค้า

2 บทที่ 9 การบันทึกบัญชีสินค้า
บทที่ 9 การบันทึกบัญชีสินค้า แนวคิด การบันทึกบัญชีของกิจการที่จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม จะมีบัญชีภาษีขายเข้ามาเกี่ยวข้อง ในกรณีที่กิจการ ซื้อสินค้าเชื่อและมีนโยบายที่จะชำระหนี้ภายในกำหนด ที่จะได้รับส่วนลด จะบันทึกบัญชีวิธีหักส่วนลด (Net Method)ซึ่งวิธีที่นิยมใช้กันโดยทั่งไป คือวิธีไม่หักส่วนลด (Gross Method)

3 การบันทึกรายการเกี่ยวกับสินค้ามี 2 ระบบคือ
บันทึกแบบสิ้นงวด(Periodic Inventory System) และ บันทึกแบบต่อเนื่อง(Periodic Inventory System) ซึ่งแบบต่อเนื่องจะบันทึกสินค้าทุกครั้งที่ซื้อและบันทึก ต้นทุนขายทุกครั้งที่มีการขายจึงทราบยอดต้นทุนขาย และยอดสินค้าจากบัญชีแยกประเภทส่วนการปิดบัญชี ในสมุดรายวันทั่วไปแบบ Periodic จะปิด 6 ขัน แต่แบบ Perpetual จะปิดเพียง 4 ขั้น

4 การบันทึกบัญชีของกิจการที่จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม
กิจการที่จดภาษีมูลค่าเพิ่ม การจัดทำบัญชียังคง ปฏิบัติตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องโดยมีบัญชีภาษีซื้อภาษีขาย เพิ่มเข้ามา ทั้งนี้ผู้ประกอบการที่เป็นบุคคลธรรมดา คณะ บุคคลห้างหุ้นส่วนสามัญบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล ต้องยื่นแบบ ภ.พ. 30 พร้อมชำระภาษี (ถ้ามี)รายเดือน ทุกเดือนภายในวันที่ 15 ของเดือนถัดไปในอัตราภาษี 7% ของยอดรายรับ ซึ่งการบันทึกบัญชีที่มีภาษีมูลค่าเพิ่ม จะบันทึกดังนี้

5 1. บันทึกบันรายการเกี่ยวกับภาษีซื้อ
1.1 ซื้อสินค้าทั้งเงินสดและเงินเชื่อ บันทึกการซื้อ และจัดทำรายงานภาษีซื้อ เดบิต ซื้อสินค้า xx เดบิต ภาษีซื้อ xx เครดิต เจ้าหนี้หรือเงินสด xx 1.2 จ่ายชำระหนี้ เดบิต เจ้าหนี้ xx เครดิต เงินสดหรือธนาคาร xx

6 1.3 ส่งคืนสินค้าและได้รับใบลดหนี้แล้ว บันทึกการ
คืนสินค้า และจัดทำรายงานภาษีซื้อ เดบิต เจ้าหนี้ xx เครดิต ส่งคืน xx เครดิต ภาษีซื้อ xx 1.4 เมื่อได้รับส่วนลดเงินสดจากการชำระหนี้ เดบิต เจ้าหนี้การค้า xx เครดิต เงินสดหรือธนาคาร xx เครดิต ส่วนลดรับ xx

7 การบันทึกบัญชีซื้อสินค้ากรณีมีส่วนลดรับ
กิจการซื้อสินค้ามาแล้วขายสินค้าไป หรือกิจการ ที่ซื้อวัตถุดิบมาผลิตและได้รับส่วนลดรับส่วนลดจะหัก จากราคาทุนของสินค้า ซึ่งจะทำให้เกิดผลกระทบต่อ ต้นทุนของสินค้าและสินค้าคงเหลือซึ่งส่วนลด (Discounts) แบ่งเป็น 2 ชนิดคือ 1. ส่วนลดการค้า(Trade Discounts) 2. ส่วนลดเงินสด(Cash Discounts)

8 2.1 บันทึกบัญชีวิธีหักส่วนลด (Net Method)
ตัวอย่างที่9-1 เมื่อวันที่ 15ธันวาคม 2546กิจการซื้อ สินค้า 10,500 บาท ส่วนลดการค้า 500บาท เงื่อนไข 3/10,n/30ภาษีมูลค่าเพิ่ม7% จะ บันทึกบัญชี ดังนี้

9 พ.ศ. 2546 เดือน วันที่ รายการ เลขที่บัญชี เดบิต เครดิต ธ.ค. 15 ซื้อสินค้า(10, ) ภาษี(10,000x7%) เจ้าหนี้ ซื้อสินค้าได้รับส่วนลดบันทึกวิธีหักส่วน 9,700 700 -- 10,400 25 เงินสด จ่ายชำระหนี้ภายในกำหนดเวลาที่ได้ส่วนลด -

10 2.2 บันทึกบัญชีวิธีไม่หักส่วนลด(Gross Method)
ตัวอย่างที่ 9-2 เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2546บริษัทซื้อ สินค้า 10,000บาท เงื่อนไข3/10,n/30 ภาษีมูลค่าเพิ่ม7% พ.ศ. 2546 เดือน วันที่ รายการ เลขที่บัญชี เดบิต เครดิต ธ.ค. 15 ซื้อสินค้า ภาษี เจ้าหนี้ ซื้อสินค้า10,000บาทภาษีมูลค่าเพิ่ม 10,000 700 -- 10,700 -

11 พ.ศ. 2546 เดือน วันที่ รายการ เลขที่บัญชี เดบิต เครดิต ธ.ค. 15 เจ้าหนี้ เงินสด ส่วนลด จ่ายชำระหนี้ภายในกำหนดเวลา ที่ได้ส่วนลด 10,700 - 10,400 300

12 การปิดบัญชีในสมุดรายวันทั่วไป
การปิดบัญชีในวันสิ้นงวดบัญชีตามแบบ Periodic นั้นจะปิดบัญชีในสมุดรายวันทั่วไป 6 ขั้น แต่การ บันทึกบัญชีแบบ Perpetual จะปิดบัญชีในสมุด รายวันทั่วไปเพียง 4 ขั้นเพราะไม่ต้องปิดบัญชีเข้าต้นทุน ขาย เนื่องจากทราบยอดต้นขายจากบัญชีแยกประเภท แล้วจึงนำมาปิดบัญชีได้เลย จะลดขั้นตอนการปิดบัญชี ไป 2 ขั้น จะแสดงดังนี้

13 ไม่ได้ปิดบัญชีขั้นนี้
การปิดบัญชีในสมุดรายวันทั่วไป รายการปิดบัญชี แบบ Periodic แบบ Perpetual ขั้นที่ 1 ปิดบัญชีเกี่ยวกับ ต้นทุนขายที่มียอด เดบิต ต้นทุนขาย 36,000.- สินค้าต้นงวด 8,000.- ซื้อสินค้า ,000.- ค่าขนส่งเข้า 1,000.- ไม่ได้ปิดบัญชีขั้นนี้ ขั้นที่ 2 บันทึกสินค้าปลายงวดและปิดบัญชีที่เกี่ยวกับต้นทุกขายที่มียอด เครดิต สินค้าปลายงวด13,410.- ส่งคืน ส่วนลดรับ ,090.- ต้นทุนขาย ,300.- ขั้นที่ 3 ปิดบัญชีขายและรายได้ต่างๆ ขายสินค้า ,000.- รายได้เบ็ดเตล็ด 2,800.- กำไรขาดทุน 28,800.- ขายสินค้า ,000.- รายได้เบ็ดเตล็ด 2,800.- กำไรขาดทุน ,800.-

14 ค่าใช้จ่ายในการบริหาร 2,600.- ดอกเบี้ยจ่าย 500.-
ขั้นที่ 4 ปิดบัญชีต้นทุนขายรับคืน ส่วนลดจ่ายและค่าใช้จ่ายต่างๆเข้ากำไรขาดทุน กำไรขาดทุน 25,085.- ต้นทุนขาย ,700.- รับคืน ,000.- ส่วนลดจ่าย ค่าใช้จ่ายในการบริหาร 2,600.- ดอกเบี้ยจ่าย กำไรขาดทุน 25,085.- ต้นทุนขาย ,700.- รับคืน ,000.- ส่วนลดจ่าย ค่าใช้จ่ายในการบริหาร 2,600.- ดอกเบี้ยจ่าย ขั้นที่ 5 โอนกำไรสุทธิเข้าบัญชีทุน กำไรขาดทุน 13,715.- ทุน-จริงใจ 13,715.- ทุน-จริงใจ ,715.- ขั้นที่ 6 ปิดบัญชีเงินถอนเข้าบัญชีทุน ทุน-จริงใจ 5,000.- ถอนใช้ส่วนตัว 5,000.- ถอนใช้ส่วนตัว 5,000.-


ดาวน์โหลด ppt ระบบบัญชีเดี่ยวและสินค้า

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google