งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การขาดแคลนนักวิชาชีพด้านสาธารณสุขในอาเซียน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การขาดแคลนนักวิชาชีพด้านสาธารณสุขในอาเซียน"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การขาดแคลนนักวิชาชีพด้านสาธารณสุขในอาเซียน
- กราฟแสดงถึง สัดส่วนของจำนวนนักวิชาชีพด้านสาธารณสุขในอาเซียน โดยเส้นประสีเหลือง คือ ระดับของตัวเลขเฉลี่ยของกลุ่มประเทศที่มีรายได้น้อยถึงปานกลาง (Lower-middle income countries) สังเกตุได้ว่า ไทยมีนักกายภาพ (Physician) เพียง 3 คน ต่อประชากร 10,000 คน และมีนักพยาบาล (Nursing and midwifery personnel) เพียง 14 คน ต่อประชากร 10,000 คน และ เภสัชกร (Pharmaceutical personnel) เพียง 1 คน ต่อประชากร 10,000 คน ซึ่งทั้งหมดอยู่ในเกณฑ์ที่ต่ำกว่าค่าเฉลี่ย

2 การขาดแคลนนักวิชาชีพด้านสาธารณสุขในประเทศไทย
ส่วนการบริการทางการแพทย์จะรับภาระหนักมากขึ้น มีการประเมินว่าในปี 2558 จะมีผู้มารับบริการสาธารณสุขจากโรงพยาบาลของรัฐเพิ่มขึ้นมากรวมถึงกว่า 2 ล้านคน ทั้งนี้ หากมีการผลิตบุคลากรที่เพียงพอ จะทำให้ประเทศไทยมีรายได้ในการเป็นศูนย์กลางทางการแพทย์ถึง 1 แสนล้านบาท อย่างไรก็ตาม จากข้อมูลที่กระทรวงสาธารณสุขนำเสนอรัฐบาล พบว่า จำเป็นต้องมีการเพิ่มจำนวนบุคลากรด้านสาธารณสุขรวมกันทั้งสิ้นกว่า 29,000 คน เป็นการด่วน โดยเฉพาะวิชาชีพแพทย์นั้น ทางกระทรวงสาธารณสุขรายงานว่า ต้องเพิ่มเพื่อรองรับการเปิดเสรีอาเซียนอีกถึง 1,200 คน จากปัจจุบันที่ประเทศไทยขาดแคลนบุคลากรแพทย์อยู่แล้ว 10,719 คน ดังนั้น หากรัฐบาลไม่มีการขับเคลื่อนเพื่อแก้ปัญหานี้ จะทำให้อีก 2 ปีข้างหน้าจะมีปัญหาการขาดแคลนแพทย์ถึง 11,974 คน และขาดแคลนทันตแพทย์อีก 3,267 คน ขณะที่วิชาชีพพยาบาล ต้องเพิ่มเพื่อรองรับการเปิดประชาคมอาเซียน 5,454 คน จากปัจจุบันที่ขาดแคลนอยู่แล้วถึง 16,030 คน เท่ากับว่าจะขาดแคลนรวมกันถึง 21,628 คน ที่มา: กระทรวงสาธารณสุข

3 ข้อจำกัด/อุปสรรคต่างๆในภาคบริการ
ลด/ยกเลิก กฎระเบียบที่เป็นอุปสรรคต่อการค้าบริการในอาเซียน การเข้าสู่ตลาด (Market Access: MA) การให้การประติบัติเยี่ยงคนชาติ (National Treatment: NT) Mode 1 Mode 2 Mode 3 Mode 4 ข้อจำกัด/อุปสรรคต่อการเข้าสู่ตลาด จำนวนผู้ให้บริการ มูลค่าการให้บริการ ปริมาณของบริการ จำนวนของบุคคลที่ให้บริการ ประเภทของนิติบุคคล สัดส่วนการถือหุ้นในนิติบุคคล ผู้ให้บริการชาวต่างชาติ Mode 1 การให้บริการข้ามพรมแดน (Cross Border Services) Mode 2 การไปใช้บริการในต่างประเทศ (Consumption Abroad) Mode 3 การจัดตั้งธุรกิจ (Commercial Presence) Mode 4 การเคลื่อนย้ายบุคคล (Movement of Natural Presence)

4 “ภาคบริการ” VS “การลงทุน” ในความตกลงการค้าเสรี : ธุรกิจอะไรคือ “ภาคบริการ” อะไรคือ “การลงทุน” ?
ภาคบริการ 1. บริการด้านธุรกิจ/วิชาชีพ (แพทย์ วิศวกร ทนายความ นักบัญชี ฯลฯ) 2. บริการด้านสื่อสาร/โทรคมนาคม 3. บริการด้านการก่อสร้าง 4. บริการด้านการจัดจำหน่าย 5. บริการด้านการศึกษา 6. บริการด้านสิ่งแวดล้อม 7. บริการด้านการเงิน 8. บริการด้านสุขภาพ 9. บริการด้านการท่องเที่ยว 10. บริการด้านนันทนาการ บริการด้านการขนส่ง 12. บริการอื่นๆ ภาคที่ไม่ใช่บริการ=ลงทุน 1. การเกษตร 2. การประมง 3. ป่าไม้ 4. เหมืองแร่ 5. ภาคการผลิต(อุตสาหกรรม) + ธุรกิจบริการที่เกี่ยวเนื่องกับ 5 สาขา

5 เปิดเสรี คุ้มครองการลงทุน ส่งเสริมการลงทุน อำนวยความสะดวกการลงทุน
เคลื่อนย้ายลงทุนเสรี แผนงานใน AEC Blueprint การลงทุน 1. การเกษตร 2. การประมง 3. ป่าไม้ 4. เหมืองแร่ 5. ภาคการผลิต(อุตสาหกรรม) 3. เปิดเสรีการลงทุน ต้องปฏิบัติกับนักลงทุนอาเซียนเช่นเดียวกับนักลงทุนตนเอง ทบทวนความตกลง AIA ให้เป็นข้อตกลงการลงทุนเต็มรูปแบบ (เปิดเสรี คุ้มครอง ส่งเสริม อำนวยความสะดวก) ACIA : ASEAN Comprehensive Investment Agreement เปิดเสรี คุ้มครองการลงทุน ส่งเสริมการลงทุน อำนวยความสะดวกการลงทุน สาขาที่ยังไม่พร้อมจะเปิดสามารถสงวนไว้ได้ในตารางข้อสงวน 5

6 1.5 อาเซียนจะมีการรวมตัวของตลาดเงินและตลาดทุนอย่างเป็นระบบ
หลักการ เปิดเสรีบัญชีทุน (Capital Account) อย่างเป็นขั้นตอนและสอดคล้องกับวาระแห่งชาติ - ความพร้อมแต่ละประเทศ อนุญาตให้มีมาตรการปกป้องที่เพียงพอ หรือที่จำเป็นเพื่อรักษาเสถียรภาพเศรษฐกิจมหภาค ทุกประเทศได้ประโยชน์อย่างทั่วถึงจากการเปิดเสรี เปิดเสรีโดย ยกเลิกหรือผ่อนคลายข้อจำกัด ตามความเป็นไปได้และเหมาะสม” อำนวยความสะดวกการจ่ายชำระเงินและโอนเงิน สำหรับธุรกรรมบัญชีเดินสะพัด (Current Account Transactions) สนับสนุนการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ หรือ มาตรการริเริ่มต่างๆ ในการส่งเสริมการพัฒนาตลาดทุน

7 ไทยสามารถนำจุดแข็งจุดอ่อนมา ปรับใช้ให้เป็นประโยชน์กับประเทศ
ภูมิศาสตร์ที่ได้เปรียบ ศูนย์กลางเชื่อมโยงเพื่อนบ้านและใกล้เคียง ภาคเอกชน/อุตสาหกรรม มีการรวมตัว/เข้มแข็ง เช่น ยานยนต์ อัญมณี ท่องเที่ยว แรงงานมีศักยภาพในสาขาวิชาชีพ ค่าจ้างถูก ทรัพยากรธรรมชาติอุดมสมบูรณ์ เศรษฐกิจค่อนข้างมั่นคง ตลาดเงินเป็นที่ยอมรับ จุดอ่อน นโยบายภาครัฐขาดความต่อเนื่อง ปัญหาการเมือง ขาดปัจจัยทางการพัฒนา เช่น วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี นวัตกรรม การวิจัย มาตรฐานสินค้า/บริการยังไม่เป็นที่ยอมรับจากสากล แรงงานขาดทักษะความรู้ด้านภาษาต่างประเทศ

8 การเตรียมความพร้อมไทย
ภาครัฐ ทุนมนุษย์ การพัฒนากฎระเบียบให้ทันสมัยและเอื้อต่อการแข่งขัน ให้ความสำคัญการกับการพัฒนา/ถ่ายโอนเทคโนโลยี มาตรการสนับสนุนของภาครัฐ อาทิ เงินทุน ข้อมูลเชิงลึกของสมาชิกอาเซียน

9 AEC ความท้าทาย การแข่งขันสูงขึ้น
ต้องเร่งปรับมาตรฐานและกฎระเบียบที่เกี่ยวข้องเข้าหากัน (regulatory convergence and harmonization) AEC เป็นแรงผลักดันให้ไทยปรับทิศทางการค้าและการลงทุนมาสู่อาเซียนและเอเชียรวดเร็วขึ้น AEC คืออะไร    1.1. โอกาส           - ตลาดใหญ่ขึ้น ล้านคน           - ดึงดูดการลงทุนจากต่างประเทศ (ไทยเป็นอันดับ 5 ในอาเซียน)           - มีทางเลือกที่เป็นแหล่งวัตถุดิบ/ทรัพยากร/แรงงาน มากและหลากหลายขึ้น ซึ่งจะช่วยลดต้นทุนและเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของไทย           - มีพันธมิตรที่ใกล้ชิด (9+6) จากการทำความตกลง AEC/FTAs    1.2. ความท้าทาย           - การแข่งขันสูงขึ้นกว่าระดับปกติ - ทำให้ไทยต้องเร่งดำเนินการเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน           - การปรับมาตรฐานและกฎระเบียบที่เกียวข้องเข้าหากัน (regulatory convergence and harmonization)             - AEC เป็นแรงผลักดันให้ไทยปรับทิศทางการค้าและการลงทุนมาสู่อาเซียนและเอเชียรวดเร็วขึ้น จากเดิมที่พึ่งพาตลาดหลักสามประเทศคือ สหรัฐฯ, ญี่ปุ่น, สหภาพยุโรป (เป็นผู้ลงทุนรายสำคัญและเป็นตลาด premium) แต่ก็ยังจำเป็นต้องยึดนโยบายกระจายตลาด โดยรักษาตลาดดั้งเดิมไว้และกระจายไปยังภูมิภาคอื่นๆที่มีศักยภาพด้วย

10 ความท้าทาย (ต่อ) การจัดอันดับความสามารถทางภาษาอังกฤษจากทั้งหมด 44 ประเทศ ที่ไม่ได้ใช้ภาษาอังกฤษ โดยสถาบัน Education First พบว่า ไทยอยู่ในอันดับที่ 42 โดยมีคะแนน จากค่าเฉลี่ยในภูมิภาคเอเชียที่ คะแนน

11 ประเด็นการสนทนาที่ 3 การให้บริการจัดหางาน เมื่อรวมเป็น ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนแล้ว

12 การให้บริการจัดหางาน ?
ASEAN (10) ASEAN + 3 ? ASEAN + 6 ? ASEAN + GATS การให้บริการจัดหางาน ? 12

13 ASEAN (10) ASEAN + 3 ? ASEAN + 6 ? ASEAN + GATS 13

14 FTA ระหว่างประเทศกับคู่เจรจา - ปัจจุบัน
ประเทศบวก 3 ประเทศบวก 6 อาเซียน-จีน อาเซียน-อินเดีย สินค้า : มีผล 2549 ~ บริการ : มีผล 2550 ~ ลงทุน : ลงนาม 13 สค 52 สินค้า : ลงนาม 13 สค. 52 มีผล 1 มค. 53 บริการ/ลงทุน : กำลังเจรจา อาเซียน-ญี่ปุ่น อาเซียน-ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ อาเซียน-เกาหลี สินค้า/บริการ/ลงทุน : ลงนาม 2551 สำหรับไทย มีผล 2 มิย 52 สินค้า /บริการ : อาเซียนอื่นมีผลแล้วตั้งแต่ปี 50 สำหรับไทย บริการ ลงนาม 26 กพ 52 มีผล 1 มิย 52 สำหรับ สินค้า มีผล 1 ตค 52 ลงทุน :ทุกประเทศ ลงนาม 2 มิย.52 มี ผล 31 ตค 52 สินค้า/บริการ/ลงทุน : ลงนาม 26 กพ 52 มีผล 1 มค. 53

15 FTA ระหว่างประเทศกับคู่เจรจา -อนาคต
EU GCC Mercosur Russia Gulf Cooperation Councils Mercado Comun del Sur ตลาดร่วมอเมริกาใต้ตอนล่าง บาห์เรน คูเวต โอมาน กาตาร์ ซาอุดีอาระเบีย สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ อาเจนตินา ปารากวัย บราซิล อุรุกวัย เวเนซูเอลา

16 การให้บริการจัดหางานเมื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียนแล้ว
บริการจัดหางานในประเทศ บริการจัดหางานไปทำงานในต่างประเทศ บริการจัดหางานให้ต่างด้าวทำงานกับสถานประกอบการในประเทศไทย

17 การให้บริการจัดหางานเมื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียนแล้ว
ให้ต่างด้าวทำงานกับสถานประกอบการในประเทศไทย พันธกรณีต่อสมาชิกประชาคมอาเซียน พันธกรณีต่อประชาคมโลก (GATS) โครงสร้างของ กฎหมาย / องค์กรผู้ให้บริการจัดหางาน รูปแบบ / วิธีการ / การบริหารจัดการหน่วยงาน ฯลฯ

18 โลกการค้าปัจจุบัน -- การรวมกลุ่มเศรษฐกิจต่างๆ
EFTA China 10 FTAs – 22 countries ; SG, NZ, Chile, Peru, HK Nego – 18 countries ; AUS, GCC, SACU Japan 13 FTAs – 16 countries ; India, ASEAN (except CLM) Nego – 8 countries ; ROK, AUS, GCC EU FTAs – 28 countries ; ROK, EFTA, MX , Middle East, Nego – 23 countries ; SG, ML, India, China TPP Trans-Pacific Strategic Economic Partnership (US, AUS, NZ, Chile, Peru, SG, ML, BR, VN) NAFTA APEC ANDEAN South Korea 8 FTAs – 44 countries ; SG, India, EU, US, EFTA Nego – 39 countries ; AUS, NZ, GCC BRICS (Brazil, Russia, India, China, South Africa) GCC US 14 FTAs – 20 countries ; SG, NAFTA, AUS, Central –South America, ROK, Columbia, Panama Nego - 4 countries ; TPP (BR, ML, VN, NZ) BIMSTEC India 6 FTAs - 16 countries ; SG, TH, ML, Sri Lanka, ROK Nego – 55 countries ; China, Japan, EU, EFTA, GCC Australia 6 FTAs – 13 countries ; SG, TH, NZ, US, Chile Nego – 13 countries ; ROK, China, Japan, India, GCC New Zealand 8 FTAs – 12 countries ; SG, TH, ML, China, AUS Nego – 9 countries ; ROK, India, US, GCC

19 ผลกระทบประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนต่อความต้องการแรงงาน
งานอาเซียน/ตปท กิจการในประเทศ เพิ่มการส่งออก/ลดต้นทุน เพิ่มการผลิตเพื่อส่งออก ต้องการแรงงานในประเทศ การเคลื่อนย้าย สินค้าเสรี บริการเสรี การย้ายการลงทุนเสรี การย้ายแรงงาน ฝีมือเสรี กิจการ อาเซียนในไทย การเคลื่อนย้ายแรงงาน(ทั้งแรงงานออกและแรงงานเข้า)มี 2 แบบ ตามการค้าการลงทุนและบริการ (เช่น BOI or FDI) การหางานทำ แรงงานทั้งไทยและอาเซียน มี 2 ระดับ แรงงานฝีมือ (Skilled workers: White collar workers & pink collar) แรงงานระดับล่าง (Unskilled: Blue collar workers) ลักษณะการเคลื่อนย้ายแรงงานปัจจุบัน แรงงานไทยไปอาเซียน BOI (Skilled & Unskilled) Employment seeking (Skilled + Unskilled) แรงงานอาเซียนมาไทย ต้องการแรงงานไทย/อาเซียน กิจการไทย ไปอาเซียน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

20 ASEAN :กับเงื่อนไขการเคลื่อนย้ายแรงงานเสรีใน AEC.
General Agreement on Trade in Services GATT General Agreement on Tariffs and Trade ด้านการค้าบริการ GATS AEC FREE Flows of Skills Labour ภายใต้ MRA : Mutual Recognition Agreement FRIF : Flows of Trade in Services AFAS : ASEAN Framework Agreement on Services


ดาวน์โหลด ppt การขาดแคลนนักวิชาชีพด้านสาธารณสุขในอาเซียน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google