ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
Risk Management Strategy
2
Rebalance Portfolio การ Rebalance Portfolio เป็นการปรับน้ำหนักการลงทุนใหม่หลังจากเกิดการเปลี่ยนแปลงมูลค่า Portfolio เวลาเปลี่ยนแปลงไป ราคาเปลี่ยนแปลงไป เงื่อนไขการลงทุนเปลี่ยนแปลงไป ใช้ในการลงทุนแบบ Active Management
3
มูลค่าความเสี่ยงกลุ่มหลักทรัพย์
ขึ้นอยู่กับ พฤติกรรมความเสี่ยงของหลักทรัพย์ การกระจายน้ำหนักการลงทุน จำนวนเงินลงทุน ดังนั้นแนวทางการปรับเปลี่ยนเพื่อลดความเสี่ยงจึงทำได้โดย เลือกหลักทรัพย์ ปรับน้ำหนักใหม่ ลดเงินลงทุน
4
การจัดการความเสี่ยงอย่างเป็นระบบ
กรอบการจัดการความเสี่ยง โดยที่ VaR* เป็นขนาดผลขาดทุนสูงสุดที่กำหนดเป็นนโยบายไว้ ความเสี่ยงที่มีมากเกินไป (ด้านซ้ายมือน้อยกว่าด้านขวามือของสมการ อาจเป็นเพราะ มีฐานะ (Exposure) มากเกินไปในกลุ่มหลักทรัพย์ หรือ W0 มากเกินไป แก้โดยการจัด Asset Allocation ใหม่ กระจายน้ำหนักการลงทุนไม่เหมาะสม เช่น ให้น้ำหนักที่มากเกินไปกับหลักทรัพย์เสี่ยงสูง และน้อยเกินไปกับหลักทรัพย์เสี่ยงต่ำ
5
ผลกระทบของการปรับน้ำหนักการลงทุนต่อ VaR
คำนวณจากมูลค่าความเสี่ยงที่เปลี่ยนไปต่อการเปลี่ยนแปลงค่าน้ำหนักการลงทุน จาก Jorion จะได้ว่า จัดสมการใหม่ ได้เป็น
6
Marginal VaR เรียก ที่ได้ว่า มูลค่าความเสี่ยงส่วนเพิ่ม (Marginal VaR)
7
ตัวอย่าง ผู้ลงทุนในหุ้นสามัญ ประกอบด้วยหุ้น A B และ C เป็นจำนวนรวม 30,000 บาท โดยการกระจายน้ำหนักเท่าๆกัน ในหุ้นแต่ละตัว ทั้งนี้อัตราผลตอบแทนรายวันของหุ้น มีการแจกแจงร่วมแบบปกติ มีค่าที่คาดและค่าความแปรปรวนร่วมเท่ากับ
8
Equally weighted Returns and Variance of Portfolio
คำนวณ returns, Variance ได้ คำนวณ มูลค่าความเสี่ยง
9
คำนวณ ความแปรปรวนร่วมและ Unit Marginal VaR
Marginal VaR และ Unit Marginal VaR เมื่อลงทุนเพิ่มขึ้น 1 บาท หุ้น C จะทำให้มูลค่าความเสี่ยงเพิ่มเยอะที่สุด
10
Rebalance Strategy ลดการลงทุนในหุ้น C หรือลดเงินลงทุนในหุ้น C
คำนวณน้ำหนักการลงทุนใหม่ คำนวณ VaR ใหม่ว่าต่ำกว่า VaR ตามนโยบายหรือไม่ *ใช้เวลาเยอะ*
11
Incremental VaR กำหนดให้ a คือvector การปรับเปลี่ยนขนาด (n×1) ซึ่งสมาชิกตัวที่ ไอ แสดงขนาดเงินลงทุนที่ถูกปรับเปลี่ยน (เครื่องหมาย + แสดงถึงการเพิ่มเงินลงทุนในหลักทรัพย์นั้น เครื่องหมายลบแสดงการลดเงินลงทุนในหลักทรัพย์นั้น) คำนวณมูลค่าความเสี่ยงที่เปลี่ยนแปลงไปได้โดย
12
ตัวอย่าง จากตัวอย่างที่ผ่านมาสมมติว่าผู้ลงทุนปรับการลงทุนในกลุ่มหุ้นสามัญ โดยการลดขนาดการลงทุนในหุ้น B และ C ลงหุ้นละ 500 บาทแล้วไปเพิ่มการลงทุนในหุ้น A อีก 1000 บาท ดังนั้น vector a เขียนได้เป็น คำนวณ Incremental VaR แสดงว่าการปรับเปลี่ยนทำให้ มูลค่าความเสี่ยงลดลง บาทได้ มูลค่าความเสี่ยงใหม่ บาท
13
CVaR CVaR คือ Component VaR มูลค่าความเสี่ยงของหลักทรัพย์องค์ประกอบ หมายถึงมูลค่าความเสี่ยงของแต่ละหลักทรัพย์ที่ประกอบในกลุ่มหลักทรัพย์ คำนวณ CVaR ได้จากสูตร โดยที่ และ
14
ตัวอย่าง คำนวณ CVaR จากตัวอย่างที่ผ่านมา
CVaRA= ×10,000 = -599 CVaRB= ×10,000 = -1,023 CVaRC= ×10,000 = -1,579 ผลรวมมูลค่าความเสี่ยงของหลักทรัพย์องค์ประกอบเท่ากับ VaR VaR = = 3,201 บาท คำนวณน้ำหนักขององค์ประกอบ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.