งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

แบบคัดกรองนักเรียนที่มีภาวะสมาธิสั้น บกพร่องทางการเรียนรู้ KUS-SI Rating Scales: ADHD/LD/Autism(PDDs) โดย นางกนกพร อินรัมย์ ครูชำนาญการ ศูนย์การศึกษาพิเศษ.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "แบบคัดกรองนักเรียนที่มีภาวะสมาธิสั้น บกพร่องทางการเรียนรู้ KUS-SI Rating Scales: ADHD/LD/Autism(PDDs) โดย นางกนกพร อินรัมย์ ครูชำนาญการ ศูนย์การศึกษาพิเศษ."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 แบบคัดกรองนักเรียนที่มีภาวะสมาธิสั้น บกพร่องทางการเรียนรู้ KUS-SI Rating Scales: ADHD/LD/Autism(PDDs) โดย นางกนกพร อินรัมย์ ครูชำนาญการ ศูนย์การศึกษาพิเศษ เขตการศึกษา ๑๑ จังหวัดนครราชสีมา

2 วัตถุประสงค์ของแบบคัดกรอง
ใช้ในการคัดกรองนักเรียนตั้งแต่ชั้น ประถมศึกษาปีที่ ๑-๖ อายุ ๖-๑๓ ปี ๑๑ เดือน ที่มีภาวะสมาธิสั้น (Attention Hyperactivity Disorder –ADHD ) บกพร่องทางการเรียนรู้ (Learning Disorder –LD) ออทิสซึม (Autism and Pervasive Developmental Disorder –PDDs)

3 ส่วนประกอบของแบบคัดกรอง
ด้านที่ ๑ KUS-SI Rating Scale 1:ADHD มี ๓๐ ข้อ ด้านที่ ๒ KUS-SI Rating Scale 2:LD –Reading มี ๒๐ ข้อ ด้านที่ ๓ KUS-SI Rating Scale 3:LD-Written Expression มี ๒๐ ข้อ ด้านที่ ๔ KUS-SI Rating Scale 4:LD-Mathematices มี ๒๐ ข้อ ด้านที่ ๕ KUS-SI Rating Scale 5:Autism/PDDs มี ๔๐ ข้อ

4 คำชี้แจงในการใช้แบบคัดกรอง
ส่วน ก. สำหรับผู้ตอบแบบคัดกรอง ผู้ตอบแบบสอบถาม คือ ครู/อาจารย์ ผู้สอนวิชาภาษาไทย และคณิตศาสตร์ อย่างน้อย ๒ ท่าน รู้จักนักเรียนเป็นอย่างดี หรือมีโอกาสสอน นักเรียนอย่างใกล้ชิด อย่างน้อย ๑ ภาคการศึกษา

5 ครู/อาจารย์ประเมินพฤติกรรมนักเรียน
ผู้สอนวิชาภาษาไทย ประเมินเฉพาะด้าน ที่ ๑,๒,๓ และ ๕ ผู้สอนวิชาคณิตศาสตร์ ประเมินเฉพาะ ด้านที่ ๑,๔และ ๕ ผู้สอนทั้งวิชาภาษาไทยและคณิตศาสตร์ ประเมินด้านที่ ๑,๒,๓,๔ และ ๕

6 การกรอกข้อมูล ส่วนที่ ๑,๒ และประเมินพฤติกรรม นักเรียน ทั้ง ๕ ด้าน ให้ชัดเจน และครบถ้วนตามความเป็นจริง อ่านคำชี้แจงให้ชัดเจน ประเมิน ข้อความทุกข้อ ให้ข้อมูลหรือข้อเสนอแนะที่เป็น ประโยชน์ในส่วนที่ ๖

7 ส่วน ข.สำหรับผู้ประเมิน
ผู้ประเมิน คือ ครู/อาจารย์ บุคลากรทางการ ศึกษา หรือนักจิตวิทยา ที่ได้รับการฝึกอบรมจนเชี่ยวชาญ คำนวณอายุนักเรียนตามปฏิทินของนักเรียน ใน ส่วนที่ ๓ คำนวณคะแนนดิบที่ได้จากการประเมินพฤติกรรม แต่ละด้าน พร้อมบันทึกคะแนนในส่วนที่ ๕ นำคะแนนดิบที่ได้จากการประเมินในแต่ละด้าน ไปแปลงเป็นคะแนนที (T-score) ตามคู่มือ แปลผลคะแนนแต่ละด้านตามเกณฑ์การแปลผล คะแนน ในส่วนที่๔ บันทึกข้อมูลผลสรุป (คะแนนดิบ คะแนนที และกลุ่ม ) และข้อเสนอแนะ เพื่อการช่วยเหลือนักเรียนเพิ่มเติม ในส่วนที่ ๕

8 ส่วน ก ส่วนผู้ตอบแบบคัดกรอง

9 เด็กชาย เอ็ม 4 กุมภาพันธ์ 2548 ป.2 นางลำใย

10 2556 05 23 2548 02 04 8 03 19 นาง ก 23 พฤษภาคม 2556

11

12

13 พฤติกรรมภาวะสมาธิสั้น KUSI-SI Rating Scale 1:ADHD

14 4 14 12 30

15 3 18 6 27 57

16 พฤติกรรมภาวะบกพร่องทางการเรียนรู้ด้านการอ่าน KUS-SI Rating Scale2 :LD-Reading

17 3 20 21 44

18 พฤติกรรมภาวะบกพร่องทางการเรียนรู้ด้านการเขียน KUS-SI Rating Scale3 :LD-Written Expression

19 5 18 18 41

20 พฤติกรรมภาวะบกพร่องทางการเรียนรู้ด้านการคิดคำนวณ KUS-SI Rating Scale4 :LD - Mathematices

21 4 20 18 42

22 พฤติกรรมภาวะออทิสซึม KUS-SI Rating Scale5 : Autism /PDDs

23 1 2 2 1 1 2 1 2 2 2 3 2 1 1 2 2 1 2 2 2

24 2 1 1 2 1 1 1 1 2 2 1 1 2 1 2 1 1 1 2 1 16 29 16 61

25 30 27 57 44 41 42 61 65 55 61 63 64 63 68 3 2 3 3 3 3 2

26 จบการนำเสนอ ขอบคุณค่ะ


ดาวน์โหลด ppt แบบคัดกรองนักเรียนที่มีภาวะสมาธิสั้น บกพร่องทางการเรียนรู้ KUS-SI Rating Scales: ADHD/LD/Autism(PDDs) โดย นางกนกพร อินรัมย์ ครูชำนาญการ ศูนย์การศึกษาพิเศษ.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google