งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ฟังก์ชันเอ็กซ์โพเนนเชียล โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ฟังก์ชันเอ็กซ์โพเนนเชียล โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ฟังก์ชันเอ็กซ์โพเนนเชียล โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
เลขยกกำลัง ฟังก์ชันเอ็กซ์โพเนนเชียล โดย ครูปรีชา หยีดน้อย โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย

2 เลขยกกำลัง บทนิยาม เมื่อ a เป็นจำนวนจริงใดๆ และ n เป็นจำนวนเต็มบวก an หมายถึง a  a  a  a  …..  a จำนวน n ตัว เช่น = 2  2  2  2  2 บทนิยาม a0 = 1 เมื่อ a เป็นจำนวนจริงใดๆ ที่ไม่เท่ากับศูนย์ บทนิยาม a-n = 1/an เมื่อ a เป็นจำนวนจริงใดๆ ที่ไม่เท่ากับศูนย์ และ n เป็นจำนวนเต็มบวก เช่น = 1/32 = 1/9

3 ตัวอย่าง จงหาค่าของ (2-3x2y4/2x-1)-2
สมบัติของเลขยกกำลัง ทฤษฎีบท เมื่อ a , b เป็นจำนวนจริงที่ไม่เป็นศูนย์ และ m , n เป็นจำนวนเต็ม 1) am.an = am+n 2) (am)n = amn 3) (ab)n = anbn 4) (a/b)n = an/bn 5) am/an = am-n ตัวอย่าง จงหาค่าของ (2-3x2y4/2x-1)-2

4 2. รากที่ n ในระบบจำนวนจริง และจำนวนจริงในรูปกรณฑ์
บทนิยาม เมื่อ x , y เป็นจำนวนจริง y เป็นรากที่สองของ x ก็ต่อเมื่อ y2 = x สมบัติของรากที่สอง 1) เมื่อ x  0 , y  0 2) เมื่อ x  0 , y > 0 ตัวอย่าง จงหาค่าของ วิธีทำ

5 R โดยที่ p < 0 แล้ว a ต้องไม่เป็นศูนย์
3. เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนตรรกยะ บทนิยาม เมื่อ a เป็นจำนวนจริง n เป็นจำนวนเต็มที่มากกว่า 1 และ a มีรากที่ n บทนิยาม เมื่อ a เป็นจำนวนจริง p , q เป็นจำนวนเต็มที่ (p,q) = 1 , q > 0 และ R โดยที่ p < 0 แล้ว a ต้องไม่เป็นศูนย์ ตัวอย่าง จงทำให้ส่วนไม่ติดกรณฑ์

6 4. ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล
บทนิยาม ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล คือ f = {(x,y)RR / y = ax , a>0 , a1} y ข้อสังเกต 1) กราฟของ y = ax ผ่านจุด (0,1) เสมอ 2) ถ้า a > 1 แล้ว y = ax เป็นฟังก์ชันเพิ่ม 3) ถ้า 0 < a < 1 แล้ว y = ax เป็นฟังก์ชันลด 4) y = ax เป็นฟังก์ชัน 1-1 จาก R ไป R+ 5) โดยสมบัติของฟังก์ชัน 1-1 จะได้ ax = ay ก็ต่อเมื่อ x = y

7 5. ฟังก์ชันลอการิทึม จาก f = {(x,y) RR / y = ax , a>0 , a1} ซึ่งเป็นฟังก์ชัน 1-1 จาก R ไป R+ จึงมีฟังก์ชันอินเวอร์สคือ f-1 = {(x,y) R+R / x = ay , a>0 , a1} จาก x = ay สามารถเขียนในรูป y = f(x) ได้ โดยกำหนดเป็น y = logax เช่น = 32 เขียนในรูปลอการิทึมเป็น 2 = log39 32 = 25 เขียนในรูปลอการิทึมเป็น 5 = log232 บทนิยาม ฟังก์ชันลอการิทึมคือฟังก์ชันที่เขียนอยู่ในรูป f = {(x,y) R+R / y = logax , a>0 , a1} เช่น y = log2x , f(x) = log5x

8 2) ถ้า a > 1 แล้ว y = logax เป็นฟังก์ชันเพิ่ม
3) y = logax เป็นฟังก์ชัน 1-1 จาก R+ ไปทั่วถึง R 4) โดยสมบัติของฟังก์ชัน 1-1 จะได้ logax = logay ก็ต่อเมื่อ x = y

9 เมื่อ a , M , N เป็นจำนวนจริงบวกที่ a 1 และ k เป็นจำนวนจริง
สมบัติของลอการิทึม เมื่อ a , M , N เป็นจำนวนจริงบวกที่ a 1 และ k เป็นจำนวนจริง 1) logaMN = logaM + logaN 2) loga M/ N = logaM – logaN 3) loga Mk = k logaM 4) loga a = 1 5) loga 1 = 0 6) logakM = 1/k logaM 7) logb a = 1/ logab

10 6. การหาค่าของลอการิทึม
ลอการิทึมสามัญ หมายถึงลอการิทึมฐาน 10 ซึ่งนิยมเขียนโดยไม่มีฐานกำกับ เช่น log เขียนแทนด้วย log 7 log1015 เขียนแทนด้วย log 15 พิจารณาค่าของลอการิทึมของจำนวนเต็มที่สามารถเขียนในรูป 10n เมื่อ n I log 10 = log 101 = 1 log 100 = log 102 = 2 log 1000 = log 103 = 3 ดังนั้น log 10n = n

11 จำนวนจริงบวก N ใดๆ สามารถเขียนในรูป N0x10n ได้เสมอ เมื่อ 1 < N0<10 และ n เป็นจำนวนเต็ม
ดังนั้น log N = log (N0x10n) = log N0+ log 10n = log N0 + n log N0 เรียกว่า แมนทิสซา (mantissa) ของ log N n เรียกว่า แคแรกเทอริสติก (characteristic) ของ log N

12 วิธีทำ เนื่องจาก log 4520 = log (4.52x103) = log 4.52 + log 103
= = ดังนั้น log = แมนทิสซาของ log คือ แคแรกเทอริสติกของ log 4520 คือ 3

13 ตัวอย่าง กำหนดให้ log N = 2.5159 จงหาค่า N
แอนติลอการิทึม ตัวอย่าง กำหนดให้ log N = จงหาค่า N วิธีทำ เนื่องจาก log N = = = log log 102 = log (3.28x102) = log 328 ดังนั้น N = 328

14 จะได้ x = by loga x = loga by loga x = y loga b y =
7. การเปลี่ยนฐานของลอการิทึม กำหนดให้ y = logbx จะได้ x = by loga x = loga by loga x = y loga b y = ดังนั้น logbx = ตัวอย่าง จงหาค่าของ log224

15 ลอการิทึมธรรมชาติ (Natural logarithms)
ลอการิทึมธรรมชาติ คือลอการิทึมฐาน e เมื่อ e เป็นสัญลักษณ์แทนจำนวนอตรรกยะ ซึ่งมีค่าประมาณ หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า “ลอการิทึมแบบเนเปียร์” (Napierian Logarithms) ในการเขียนลอการิทึมธรรมชาติจะไม่นิยมเขียนฐานกำกับ ดังนี้ logex เขียนแทนด้วย ln x loge3 เขียนแทนด้วย ln 3 loge20 เขียนแทนด้วย ln 20 การหาค่าลอการิทึมธรรมชาติทำได้โดยการเปลี่ยนฐานให้เป็นลอการิทึมสามัญ ซึ่ง log e = log = ตัวอย่าง จงหาค่าของ ln 25

16 8. สมการเอ็กซ์โพเนนเชียลและสมการลอการิทึม
สมการเอ็กซ์โพเนนเชียล คือสมการที่มีตัวแปรเป็นเลขชี้กำลัง ในการหาคำตอบของสมการ ทำได้โดยใช้สมบัติของฟังก์ชันเอ็กซ์โพเนนเชียลและสมบัติของฟังก์ชันลอการิทึม ตัวอย่าง จงหาเซตคำตอบของสมการ 2x.22x+1 = 4x-2 วิธีทำ x+2x+1 = (22)x-2 23x+1 = 22x-4 จะได้ x+1 = 2x-4 x = -5 ดังนั้น คำตอบของสมการ คือ {-5} ตัวอย่าง จงหาเซตคำตอบของสมการ 4x + 2x+1 – 24 = 0

17 สมการลอการิทึม คือสมการที่มีลอการิทึมของตัวแปร การหาคำตอบของสมการทำได้
โดยใช้สมบัติของฟังก์ชันลอการิทึม ตัวอย่าง จงหาเซตคำตอบของสมการ log2(x-2) + log2(x-3) = 1 วิธีทำ log2(x-2) + log2(x-3) = 1 log2(x-2)(x-3) = log22 จะได้ (x-2)(x-3) = 2 x2- 5x + 4 = 0 (x-1)(x-4) = 0 x = 1 , 4 ดังนั้น คำตอบของสมการ คือ {4} เพราะว่า เมื่อตรวจคำตอบ x = 1 หาค่าไม่ได้

18 สวัสดี


ดาวน์โหลด ppt ฟังก์ชันเอ็กซ์โพเนนเชียล โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google