งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การลงรายการทรัพยากรห้องสมุด

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การลงรายการทรัพยากรห้องสมุด"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การลงรายการทรัพยากรห้องสมุด
ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ สพฐ. อนุรักษ์ พรมเลข ศึกษานิเทศก์ สพป. ชร 2

2 ทรัพยากรห้องสมุด สื่อ หรือ วัสดุที่ใช้เก็บบันทึกสารสนเทศ อาจเก็บได้ ในหลายรูปแบบในการบันทึก มีทั้งตัวอักษร ข้อความ รูปภาพ และเสียง ทรัพยากรห้องสมุด แบ่งออกเป็น 3 ประเภท สื่อสิ่งพิมพ์ สื่อโทรทัศน์ สื่ออิเล็กทรอนิกส์

3 ขั้นตอนการลงรายการทรัพยากรห้องสมุด
เมื่อได้รับหนังสือเข้ามาในห้องสมุดบรรณารักษ์ ต้อง ดำเนินการดังนี้ - ตรวจสอบกับฐานข้อมูลทรัพยากรห้องสมุด - ตรวจสอบการบันทึกข้อมูลถูกต้องหรือไม่ - ลงรายการทางบรรณานุกรม - พิมพ์ป้ายติดสันหนังสือ - จัดทำบรรณานุกรมใหม่ - จัดนิทรรศการ / ประชาสัมพันธ์หนังสือใหม่

4 ส่วนต่างๆ ของหนังสือ ปกนอก ปกใน หน้าลิขสิทธิ์ คำนำ สารบัญ บทนำ
ปกนอก ปกใน หน้าลิขสิทธิ์ คำนำ สารบัญ บทนำ บรรณานุกรม ภาคผนวก

5 การกำหนดเลขเรียกหนังสือ

6 การกำหนดเลขเรียกหนังสือ
เลขหมู่ ตามการแบ่งหนังสือด้วยระบบ ดิวอี้ ได้แก่เลขหมู่ 000 – 999 รวมทั้งอักษรแทนเลขหมู่หนังสือบางประเภท เช่น - นวนิยาย ใช้อักษรแทนเลขหมู่ น - รวมเรื่องสั้น ใช้อักษรแทนเลขหมู่ รส - หนังสือสำหรับเด็ก ใช้อักษรแทนเลขหมู่ ภ

7 การกำหนดเลขเรียกหนังสือ
เลขหนังสือ เป็นเครื่องหมายประจำหนังสือเพื่อช่วยในการจดจำ ช่วยในการจัดเก็บ และค้นหา ได้รวดเร็วขึ้น ประกอบด้วย - อักษรผู้แต่ง - เลขผู้แต่ง - อักษรชื่อเรื่อง

8 การกำหนดเลขเรียกหนังสือ
1. พยัญชนะตัวแรกของชื่อผู้แต่ง 2. รูปพยัญชนะ หรือรูปสระใด เกาะติดพยัญชนะตัวแรก 3. ผู้แต่งเป็นคณะ/สำนักพิมพ์ใช้ชื่อหนังสือ

9 ตารางกำหนดเลขผู้แต่ง ภาษาไทย (มธ)
อักษรตัวที่ 2 ใช้เลข อักษรย่อ 1 ก ข ซ ค ค ฆ ง จ ฉ ช ซ ฌ ญ ฎ ฏ 2 ฐ ฑ ฒ ฌ ด ต ถ ท ธ น บ ป ผ ฝ 3 พ ฟ ภ ม ย ร ฤ ฤา ล ภ ภา 4 ว ศ ษ ส ห ฬ อ ฮ 5 ะ - ั ั- ะ า ำ ิ ี ึ 6 ื ุ ู เ- เ-ะ เ-า เ-าะ เ- ิ 7 เ- ี เ- ีะ เ- ื เ- ืะ แ- แ-ะ 8 โ- โ-ะ ใ- ไ- 9

10 การกำหนดเลขเรียกหนังสือ
ชื่อผู้แต่ง/หนังสือ การพิจารณา ผลที่ได้ ว.วชิรเมธี ว/อักษรย่อ/ว ว15 ศิริวรรณ ศ/อิ ศ7 สามก๊ก ส/อา ส6 เครือวัลย์ ค/ร ค4 ธรรมชาติเพื่อสุขภาพ ธ/ร ธ4 ผู้การเรือเร่ ผ/อู ผ7

11 การกำหนดเลขเรียกหนังสือ
ส่วนประกอบเพิ่มเติม - สัญญาลักษณ์พิเศษ - บอกเนื้อหา - ปีที่พิมพ์

12 หลักการกำหนดเลขหมู่ จัดหมวดหมู่ตามเนื้อหาวิชาเป็นอันดับแรก หลังจากนั้นจึง พิจารณารูปแบบการเขียน ให้เลขหมู่ตรงกับเนื้อหาวิชามากที่สุด และครอบคลุมเนื้อหา ทั้งหมด หนังสือบันเทิงคดีบางประเภทไม่ต้องให้เลขตามระบบดิวอี้ สามารถใช้อักษรพิเศษแทนได้

13 ขั้นตอนการกำหนดเลขหมู่
ตรวจสอบรายการหนังสือของห้องสมุดว่าเคยมีหรือไม่ - ให้ต่อเลขฉบับซ้ำ ( ฉ ) เมื่อเป็นเรื่องเดียวกัน - พิมพ์ ปีต่างกันใช้เลขหมู่เดิม เปลี่ยนปี พศ. แยกหนังสือเป็นหมวดๆ อ่านเนื้อหาและพิจารณา ระบุหมวดหมู่ สำหรับการติด/เขียนเลขเรียกหนังสือนั้น ขอแนะนำให้ใช้ ขนาด A 8  25 X 38 mm

14 Dewey Decimal Classification
เมลวิล ดิวอี้ (Melvil Dewey) ชาวอเมริกัน เป็นผู้คิดระบบนี้ขึ้นในขณะที่เป็นผู้ช่วยบรรณารักษ์ เรียกย่อ ๆ ว่าระบบ D.C. หรือ D.D.C เป็นระบบการจัดหมู่ที่นิยมใช้แพร่หลายที่สุดระบบหนึ่ง

15 หมวดใหญ่ (Classes)

16 หมวดย่อย (Division) การแบ่งครั้งที่ 2 คือการแบ่งหมวดใหญ่แต่ละหมวดออกเป็น 10 หมวดย่อย รวมเป็น 100 หมวดย่อย โดยใช้ตัวเลขหลักสิบแทนสาขาวิชาต่าง ๆ เช่น 000 เบ็ดเตล็ดหรือความรู้ทั่วไป 010 บรรณานุกรม 020 บรรณารักษศาสตร์ และสารนิเทศศาสตร์ 030 สารานุกรมไทยทั่วไป 040 ความเรียงทั่วไป 050 วารสารทั่วไป

17 หมู่ย่อย (Section) การแบ่งครั้งที่ 3 คือการแบ่งหมวดย่อยแต่ละหมวดออกเป็น 10 หมู่ย่อย รวมเป็น 1,000 หมู่ย่อย โดยใช้เลขหลักหน่วยแทนสาขาวิชา ตัวอย่างหมวดย่อย แบ่งออกเป็นหมู่ย่อยดังนี้ 330 เศรษฐศาสตร์ 331 เศรษฐศาสตร์แรงงาน 332 เศรษฐศาสตร์การเงิน 333 เศรษฐศาสตร์ที่ดิน 334 สหกรณ์

18 จุดทศนิยม การแบ่งครั้งที่ 4 จากการแบ่งเป็นหมู่ย่อยหรือการแบ่งครั้งที่ 3 ยังสามารถแบ่งให้ละเอียดออกไปได้โดยใช้จุดทศนิยม เพียงระบุเนื้อหาวิชาเฉพาะเจาะจง ตัวอย่างหมู่ย่อย แบ่งออกเป็นจุดทศนิยมดังนี้ 332 เศรษฐศาสตร์การเงิน ธนาคารและการธนาคาร ธนาคารกลางของประเทศ ธนาคารแห่งชาติ ธนาคารพาณิชย์ บริการพิเศษ เช่น บัตรเครดิต

19 1 2 3 . 4 5 6 รูปแบบ จุดทศนิยม หมู่ย่อย (Section) หมวดย่อย (Division)
หมวดใหญ่ (Classes)

20 ฝึกปฏิบัติ

21 ฝึกปฏิบัติ

22 Thank you


ดาวน์โหลด ppt การลงรายการทรัพยากรห้องสมุด

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google