ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยPaponsan Phornprapha ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
รายละเอียดข้อมูลเพื่อจัดทำแผนบริหารจัดการน้ำ
ของคณะอนุกรรมการ ชุดที่ 1 (พื้นที่ภาคเหนือ กลาง และตะวันออก) เสนอต่อ คณะกรรมการกำหนดนโยบายและการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ
2
ขอความร่วมมือส่วนภูมิภาค ดังนี้
ชี้แจง Road map การทำงาน 5 ขั้นตอนต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น ผู้ว่าฯ คณะกรรมการลุ่มน้ำฯ หน่วยงานราชการส่วนภูมิภาค (Sl4-5) ประชาสัมพันธ์กำหนดการจัดการรับฟังสภาพปัญหาของลุ่มน้ำ เพื่อหาแนวทางแก้ไข (Sl10-13) พิจารณาพื้นที่เป้าหมายในพื้นที่ทั้งการขาดแคลนน้ำ น้ำท่วม และคุณภาพน้ำ โดยต้องมีองค์ประกอบครบทั้ง ตำแหน่งที่เกิดปัญหา ช่วงเวลา ความถี่ และผลกระทบ(ความเสียหาย) เสนอวิธีการแก้ไขปัญหาที่เหมาะสมกับพื้นที่ตามมาตรการที่เสนอไว้ (sl5-7) หรือเพิ่มเติมมาตรการใหม่ เสนอข้อมูลผ่าน ผส.ชป. และ สบก. ภายในวันที่ 3 กันยายน 57 หากต้องการข้อมูลรายลุ่มน้ำเพิ่มเติม ติดต่อ ภาคเหนือ : กง.วค.๑ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ : กง.วค.๒ ภาคใต้ : กง.วค.๓ ภาคกลางและภาคตะวันออก : กง.วค.๔
3
กรอบแนวคิดการดำเนินงานเพื่อจัดทำแผนบริหารจัดการน้ำ
นิยาม 1 ภัยแล้ง น้ำท่วม คุณภาพน้ำ หลักเกณฑ์ ตำแหน่ง /ช่วงเวลา /ความถี่/ผลกระทบ ชี้ปัญหา - มหานคร - พื้นที่เศรษฐกิจ ศูนย์กลางหลัก ศูนย์กลางรอง ชนบท พื้นที่เศรษฐกิจ - อุปโภคบริโภค - รักษานิเวศ เกษตร อุตสาหกรรม 2 น้ำเสีย น้ำเค็ม ธรรมชาติ มนุษย์ เฉพาะที่ แหล่งอื่น วิเคราะห์ สาเหตุ 3 กลยุทธ์ ต้นน้ำ/กลางน้ำ /ปลายน้ำ มาตรการ - ไม่ใช้สิ่งก่อสร้าง - ใช้สิ่งก่อสร้าง การมีส่วนร่วม ยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตร์ - ภัยแล้ง - น้ำท่วม คุณภาพน้ำ 4 เชิงรุก โครงการ เล็ก กลาง ใหญ่ จัดกลุ่ม เชิงรับ เป้าหมาย 5 แผนงาน ดำเนินการทันที ศึกษา เร่งด่วน 2558 สั้น 2559 กลาง ยาว 2565 ขึ้นไป แผนบริหาร จัดการน้ำ ตัวชี้วัด (ลักษณะโครงการ) ชัดเจน / (แก้ปัญหาได้อย่างสัมฤทธิ์ผล) ตรงจุด / คุ้มค่า / ยั่งยืน
4
การรับฟังปัญหาระดับพื้นที่
ภัยแล้ง 1.อุปโภคบริโภค 2.รักษานิเวศ 3.เกษตร 4.อุตสาหกรรม นิยาม 1.ชี้ปัญหา 1.กลุ่มมหานคร 2.กลุ่มเศรษฐกิจ 3.เมืองศูนย์กลางหลัก 4.เมืองศูนย์กลางรอง 5.เมืองศูนย์กลางชนบท 6. เกษตร น้ำท่วม หลักเกณฑ์ ตำแหน่ง /ช่วงเวลา /ความถี่/ผลกระทบ คุณภาพน้ำ 1.น้ำเสีย 2.น้ำเค็ม ธรรมชาติ มนุษย์ 2.วิเคราะห์สาเหตุ วิธีวิเคราะห์ สถิติ-แนวโน้ม/SWOT เกิดเฉพาะพื้นที่/แหล่งอื่น ภูมิกายภาพลุ่มน้ำ อุตุ อุทก - น้ำบาดาล การใช้ที่ดิน (เกษตร-ป่าไม้) ประชากร/เศรษฐกิจสังคม ไม่ใช้สิ่งก่อสร้าง : 1.บริหารจัดการน้ำต้นทุน 2.บริหารจัดการน้ำหลาก 3.ฟื้นฟูป่าต้นน้ำ 4.พืชคลุมดิน 5.zoning (เกษตร-อุตสาหกรรม) 6.ระบบปลูกพืช 7.3R 8.ระบบเฝ้าติดตาม/พยากรณ์/เตือนภัย 9.พัฒนา/เชื่อมโยงระบบฐานข้อมูล 10.ระบบติดตามประเมินผล 11.หน่วยงาน/องค์กร 12.นโยบาย/กฎหมาย 13.มาตรการช่วยเหลือทางการเงิน 14.ประชาสัมพันธ์ 3.ยุทธศาสตร์ ภัยแล้ง/น้ำท่วม/คุณภาพน้ำ กลยุทธ ใช้สิ่งก่อสร้าง : 1.พัฒนาแหล่งกักเก็บ 2.โครงข่ายน้ำ 3.เติมน้ำลงชั้นใต้ดิน 4.ปรับปรุง/พัฒนาระบบป้องกันน้ำเค็ม 5.ปรับปรุงพัฒนาระบบบำบัดน้ำเสีย 6.ระบบส่งน้ำ 7.ปรับปรุงประสิทธิภาพโครงการเดิม 8. ผันน้ำ/ช่องลัด 9.เพิ่มประสิทธิภาพการระบายน้ำ 10.ระบบป้องกันน้ำท่วม 11.ย้าย/พัฒนาพท.เศรษฐกิจใหม่ ภาคเหนือ กลาง ตะวันออก การรับฟังปัญหาระดับพื้นที่ มาตรการ เชิงรุก 4.จัดกลุ่มโครงการ กลุ่มแก้ปัญหาภัยแล้ง กลุ่มจัดการ คุณภาพน้ำ กลุ่มบรรเทาน้ำ ท่วม เชิงรับ ขนาดเล็ก ขนาดกลาง ขนาดใหญ่ 5.แผนบริหารจัดการน้ำ แผนงาน ดำเนินการได้ทันที เข้าแผนศึกษา ตัวชี้วัด เป้าหมาย เร่งด่วน (58) สั้น (59) กลาง (60-64) ยาว(65ขึ้น) ที่ตั้ง/พท.รับประโยชน์/ผลกระทบ/ผลสัมฤทธิ์/ระยะเวลา
5
ภัยแล้ง เพิ่ม ลด จัดการ ใช้สิ่งก่อสร้าง ไม่ใช้สิ่งก่อสร้าง
บริหารจัดการ Management Side ลดการสูญเสียในระบบส่งน้ำ/ บริหารบนความขาดแคลน/3R / มีกฎหมาย/ระเบียบ/ มีกลุ่มผู้ใช้น้ำ จัดการ เพิ่ม หาน้ำต้นทุนเพิ่ม Supply Side จากน้ำฝน น้ำท่า น้ำบาดาลทั้งภายในลุ่มน้ำและภายนอกลุ่มน้ำ ลดการใช้น้ำ Demand Side เปลี่ยนพืชที่ใช้น้ำน้อย ปรับวิธีการทำการเกษตร ลด มาตรการแก้ไขปัญหา ภัยแล้ง กลยุทธ์ ไม่ใช้สิ่งก่อสร้าง ใช้สิ่งก่อสร้าง ฟื้นฟูป่าต้นน้ำ เพื่อให้ความชุ่มชื่น/ซับน้ำ 2. ปลูกพืชคลุมดิน เพื่อลดการกัดเซาะ/ตกตะกอน 3. จัดภาคเกษตร zoning และภาคอุตสาหกรรม เพื่อการใช้น้ำอย่างเหมาะสม 4. ปรับระบบการปลูกพืช 5. บริหารจัดการน้ำต้นทุน 6. 3R (Reuse-Reduce-Recycle) 7. พัฒนาระบบติดตาม พยากรณ์ และเตือนภัย 8. พัฒนาระบบฐานข้อมูล เพื่อบริหารจัดการน้ำ 9 ระบบติดตามและประเมินผลการบริหารจัดการน้ำ 10. หน่วยงาน/องค์กร เพื่อบริหารจัดการน้ำในทุกภาคส่วน 11. บริหารจัดการเชิงนโยบาย/กฎหมาย 12. มาตรการช่วยเหลือทางการเงิน เพื่อชดเชย/เยียวยาผู้ได้รับผลกระทบ (ได้แก่ กองทุนน้ำ) 13. การประชาสัมพันธ์ การให้ความรู้ และการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน พัฒนาแหล่งกักเก็บ เพื่อกักเก็บน้ำฝน/น้ำท่า (ได้แก่ ฟื้นฟูแหล่งน้ำ ขุดสระ อ่างเก็บน้ำ ปรับปรุงความจุอ่างเก็บน้ำเดิม) 2. พัฒนาโครงข่ายน้ำ จากแหล่งน้ำ แหล่งน้ำ เพื่อสร้างเสถียรภาพและความมั่นคงด้านน้ำ (ได้แก่ พัฒนาระบบอ่างพวง ผันน้ำข้ามลุ่ม) 3. พัฒนาระบบส่งน้ำ - จากแหล่งน้ำธรรมชาติ พื้นที่ที่ต้องการ - จากแหล่งน้ำที่สร้างขึ้น พื้นที่ที่ต้องการ (ได้แก่ คลองส่งน้ำ ท่อส่งน้ำ ระบบกระจายน้ำประปา) 4. ปรับปรุงประสิทธิภาพโครงการเดิม (modernization) เพื่อลดความสูญเสียและเพิ่มการใช้น้ำอย่างเต็มศักยภาพ เพิ่มความจุเก็บกักและรองรับ climate change
6
น้ำท่วม ไม่ใช้สิ่งก่อสร้าง ใช้สิ่งก่อสร้าง ระบาย/ ผันน้ำ ป้องกัน
มาตรการแก้ปัญหา เก็บกัก/ ชะลอน้ำ น้ำท่วม จัดการน้ำหลาก ระบาย/ ผันน้ำ ป้องกัน กลยุทธ์ ไม่ใช้สิ่งก่อสร้าง ใช้สิ่งก่อสร้าง จัดการน้ำหลาก เพื่อกระจายน้ำหลากและเตรียมความพร้อมในการเผชิญเหตุ (ได้แก่ ปรับปรุงเกณฑ์ปฏิบัติการอ่างเก็บน้ำให้เป็นไปอย่างเหมาะสม (Rule Curve)) ให้สอดคล้องกับสถานการณ์ 2. ฟื้นฟูป่าต้นน้ำ เพื่อซับน้ำ 3. ปลูกพืชคลุมดิน เพื่อชะลอน้ำ 4. ปรับระบบการปลูกพืช ให้สอดคล้องกับภูมิประเทศ สภาพอุตุและอุทกวิทยา 5. พัฒนาระบบติดตาม พยากรณ์ และเตือนภัย 6. หน่วยงาน/องค์กร เพื่อรับผิดชอบเรื่องบริหารจัดการอุทกภัยในทุกภาคส่วน 7. บริหารจัดการเชิงนโยบาย/กฎหมาย เพื่อให้มีกฎระเบียบที่ทันสมัยและมีมาตรฐาน (เช่น กฎหมายผังเมือง ) 8. มาตรการช่วยเหลือทางการเงิน เพื่อชดเชย/เยียวยาผู้ได้รับผลกระทบ (ได้แก่ กองทุนน้ำ) 9. การประชาสัมพันธ์ การให้ความรู้ และการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน พัฒนาแหล่งกักเก็บเพื่อกัก-เก็บ-หน่วง-ชะลอน้ำ (ได้แก่ ฟื้นฟูแหล่งน้ำ ฝายต้นน้ำ ขุดสระ อ่างเก็บน้ำ ปรับปรุงความจุอ่างเก็บน้ำเดิม) เติมน้ำลงชั้นน้ำใต้ดิน เพื่อลดปริมาณน้ำหลาก ผันน้ำและช่องลัด เพื่อควบคุมและลดปริมาณน้ำไหลเข้าพื้นที่สำคัญ เพิ่มประสิทธิภาพการระบายน้ำ (เช่น การปรับปรุงระบบคลองส่งน้ำและอาคารประกอบ การขุดลอกลำน้ำ สถานีสูบน้ำ และคันกั้นน้ำ ลดสิ่งกีดขวางการระบายน้ำ) พัฒนาโครงข่ายน้ำ เพื่อนำน้ำจากแหล่งน้ำที่มีมากไปยังแหล่งน้ำที่มีน้อย ระบบป้องกันน้ำท่วม เพื่อปกป้องพื้นที่สำคัญ (ได้แก่ พื้นที่ปิดล้อม) ย้าย/พัฒนาพื้นที่เศรษฐกิจใหม่ (เชิงรุก) โดยวางระบบการระบายน้ำต้องได้รับการพิจารณาจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
7
ผลักดันน้ำเพื่อรักษาคุณภาพน้ำ
จัดการ 3R มีกฎหมาย/ระเบียบ/ มีกลุ่มผู้ใช้น้ำ แก้ ไล่ มาตรการแก้ไขปัญหา คุณภาพน้ำ ขับไล่ ผลักดันน้ำเพื่อรักษาคุณภาพน้ำ แก้ไขปัญหา น้ำเสีย น้ำดี กลยุทธ์ ใช้สิ่งก่อสร้าง ไม่ใช้สิ่งก่อสร้าง 1. ปรับปรุงเกณฑ์การบริหารจัดการน้ำ ให้สอดคล้องกับสภาวะการรุกตัวของน้ำเค็มและการเจือจางน้ำเสีย ในแม่น้ำสายหลักที่สำคัญ 2. การติดตาม เฝ้าระวัง และเตือนภัย คุณภาพน้ำ 3. การนำน้ำกลับมาใช้ใหม่ (Reuse) 4. เชื่อมโยงโครงข่ายระบบฐานข้อมูลทั้งภายในและระหว่างหน่วยงาน 5. บริหารจัดการเชิงนโยบาย/กฎหมาย เพื่อให้มีกฎระเบียบที่ทันสมัยและมีมาตรฐานด้านการควบคุมคุณภาพน้ำ 6. การประชาสัมพันธ์ การให้ความรู้ และการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน ปรับปรุง/พัฒนา ระบบป้องกันน้ำเค็ม เช่น อาคารบังคับน้ำปากแม่น้ำสายหลัก ในแม่น้ำเจ้าพระยา ท่าจีน บางปะกง และแม่น้ำแม่กลอง ปรับปรุง/พัฒนาระบบบำบัดน้ำเสีย - ระบบรวม - ครัวเรือน 3. พัฒนาแหล่งกักเก็บน้ำเพื่อขับไล่น้ำเสีย (ได้แก่ อ่างเก็บน้ำ)
8
ไม่ใช้สิ่งก่อสร้าง กลยุทธ น้ำแล้ง น้ำท่วม ยุทธศาสตร์ คุณภาพน้ำ
1. บริหารจัดการน้ำต้นทุน ฟื้นฟูป่าต้นน้ำ 2. ปลูกพืชคลุมดิน 3. จัดภาคเกษตร zoning และภาคอุตสาหกรรม 4. ปรับระบบการปลูกพืช 5. บริหารจัดการน้ำต้นทุน 6. 3R 7. พัฒนาระบบติดตาม พยากรณ์ และเตือนภัย 8. พัฒนาระบบฐานข้อมูล 9 ระบบติดตามและประเมิน ผลการบริหารจัดการน้ำ 10. หน่วยงาน/องค์กร 11. บริหารจัดการเชิง นโยบาย/กฎหมาย 12. มาตรการช่วยเหลือ ทางการเงิน 13. การประชาสัมพันธ์ จัดการน้ำหลาก ฟื้นฟูป่าต้นน้ำ ปลูกพืชคลุมดิน ปรับระบบการปลูกพืช พัฒนาระบบติดตาม พยากรณ์ และเตือนภัย หน่วยงาน/องค์กร บริหารจัดการเชิงนโยบาย/กฎหมาย 8. มาตรการช่วยเหลือทางการเงิน 9. การประชาสัมพันธ์ ปรับปรุงเกณฑ์การบริหารจัดการน้ำ การติดตาม เฝ้าระวัง และเตือนภัย คุณภาพน้ำ การนำน้ำกลับมาใช้ใหม่ (Reuse) เชื่อมโยงโครงข่ายระบบฐานข้อมูล บริหารจัดการเชิงนโยบาย/กฎหมาย การประชาสัมพันธ์ 2. บริหารจัดการน้ำหลาก 3. ฟื้นฟูป่าต้นน้ำ 4.ปลูกพืชคลุมดิน 5. จัดภาคเกษตร zoning และ ภาคอุตสาหกรรม 6. ปรับระบบการปลูกพืช 7. 3R 8.พัฒนาระบบติดตาม เฝ้า ระวัง พยากรณ์และเตือนภัย 9. พัฒนาและเชื่อมโยงระบบฐานข้อมูล 10.ระบบติดตามผลประเมินผล การบริหารจัดการน้ำ 11. หน่วยงาน/องค์กร (อนุ4) 12. บริหารจัดการเชิงนโยบาย/กฎหมาย (อนุ4) 13. มาตรการช่วยเหลือทางการเงิน (อนุ4) 14. การประชาสัมพันธ์ (อนุ5)
9
ใช้สิ่งก่อสร้าง น้ำแล้ง น้ำท่วม กลยุทธ คุณภาพน้ำ พัฒนาแหล่งกักเก็บ
ปรับปรุง/พัฒนา ระบบป้องกันน้ำเค็ม ปรับปรุง/พัฒนาระบบบำบัดน้ำเสียรวม 3. พัฒนาแหล่งกักเก็บ พัฒนาแหล่งกักเก็บ เติมน้ำลงชั้นน้ำใต้ดิน ผันน้ำและช่องลัด เพิ่มประสิทธิภาพการระบายน้ำ พัฒนาโครงข่ายน้ำ ระบบป้องกันน้ำท่วม 7. ย้าย/พัฒนาพื้นที่เศรษฐกิจใหม่ (เชิงรุก) พัฒนาแหล่งกักเก็บ 2. พัฒนาโครงข่ายน้ำ 3. พัฒนาระบบส่งน้ำ 4. ปรับปรุงประสิทธิภาพโครงการเดิม 2. พัฒนาโครงข่ายน้ำ 3. เติมน้ำลงชั้นน้ำใต้ดิน 4. ปรับปรุง/พัฒนา ระบบป้องกันน้ำเค็ม 5. ปรับปรุง/พัฒนาระบบบำบัดน้ำเสีย 6. พัฒนาระบบส่งน้ำ 7. ปรับปรุงประสิทธิภาพโครงการเดิม 8. ผันน้ำและช่องลัด 9. เพิ่มประสิทธิภาพการระบายน้ำ 10.ระบบป้องกันน้ำท่วม 11. ย้าย/พัฒนาพื้นที่เศรษฐกิจใหม่ (อนุ4)
10
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ
ประเด็น “ การรับฟังสภาพปัญหาของลุ่มน้ำและแนวทางการแก้ไข เพื่อยกร่างแผนยุทธศาสตร์การบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ” ภาคเหนือ ภาคกลาง และภาคตะวันออก 1.เพื่อวิเคราะห์สภาพปัญหาของลุ่มน้ำ สาเหตุและแนวทางแก้ไขปัญหาในแต่ละลุ่มน้ำ เพื่อนำมาประกอบการยกร่างแผนยุทธศาสตร์ฯ 2.เพื่อยกร่างแผนยุทธศาสตร์การบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ ภาคเหนือ ภาคกลาง และภาคตะวันออก วัตถุประสงค์ ตัวแทนคณะกรรมการลุ่มน้ำในพื้นที่ภาคเหนือ กลาง และตะวันออก กลุ่มเป้าหมาย 1.นำเสนอกรอบแนวคิดการจัดทำแผนฯ 2.แบ่งกลุ่มย่อยตามลุ่มน้ำเพื่อวิเคราะห์ปัญหา 3.ยกร่างยุทธศาสตร์การแก้ไขปัญหาตามกลุ่มลุ่มน้ำย่อย 4.สรุปผลภาพรวมในระดับภาค วิธีการ
11
ลุ่มน้ำสาละวิน กก โขงเหนือ พิษณุโลก : 9 ก.ย.57
กำหนดการ เชียงราย : 8 ก.ย.57 รร.ลักษณวรรณ รีสอร์ท ลุ่มน้ำสาละวิน กก โขงเหนือ พิษณุโลก : 9 ก.ย.57 ศูนย์วัฒนธรรมภาคเหนือตอนล่าง วังจันทร์ ริเวอร์วิว มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม ลุ่มน้ำปิง วัง ยม น่าน พระนครศรีอยุธยา : 10 ก.ย.57 โรงแรมวรบุรี สะแกกรัง เจ้าพระยา ท่าจีน ป่าสัก ระยอง : 12 ก.ย.57 รร.สตาร์ ลุ่มน้ำปราจีนบุรี บางปะกง โตนเลสาบ และชายฝั่งทะเลตะวันออก ประจวบคีรีขันธ์ : 11 ก.ย.57 รร.ซิตี้บีช รีสอร์ท หัวหิน ลุ่มน้ำแม่กลอง เพชรบุรี และชายฝั่งทะเลประจวบคีรีขันธ์
12
กำหนดการ
13
เนื้อหาเอกสารประกอบการประชุม
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.