ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยSup Narkbunnum ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
หลักสูตรพัฒนาความสามารถในการสร้างเครื่องมือ วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
แบบอัตนัยและเขียนตอบตามแนวการทดสอบนานาชาติ (PISA) หน่วยที่ 2 แนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง
2
วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ผู้เข้าอบรมมีความรู้ ความเข้าใจแนวคิด ทฤษฎีความรู้ ของ Bloom และลักษณะของแบบทดสอบvอัตนัย (Essay) 2. เพื่อให้ผู้เข้าอบรมมีความรู้ ความเข้าใจ ที่เกี่ยวกับเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัย(Essay ) สาระสำคัญ แนวคิด ทฤษฎีความรู้ของ Bloom’s Taxonomy Revised แนวคิด ทฤษฎีเกี่ยวกับเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัย (Essay)
3
ทฤษฎีความรู้ของบลูม
4
ลักษณะของข้อสอบที่ใช้วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้
ข้อสอบปรนัย ข้อสอบอัตนัย สถานการณ์ที่เป็นข้อมูล/ภาพ/กราฟ/แผนภูมิ ข้อคำถาม ตัวเลือก คำตอบ ตัวลวง เฉลย เกณฑ์การให้คะแนน /แนวการตอบคำถาม
5
ระดับพฤติกรรมข้อสอบปรนัย/อัตนัย
ข้อสอบอัตนัย ข้อสอบปรนัยเลือก ตอบ
6
รูปแบบข้อสอบอัตนัยที่ใช้วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้
1.แบบเติมคำให้สมบูรณ์ (Completion Item) 2.แบบตอบสั้น (short-answer essay) 3.แบบไม่จำกัดคำตอบ (Extened-answer essay)
7
ความสัมพันธ์ของรูปแบบอัตนัยกับระดับพฤติกรรมข้อสอบ ตามแนวคิดทฤษฎีความรู้ของบลูม
รูปแบบที่ 1 ระดับพฤติกรรมข้อสอบ แบบเติมคำให้สมบูรณ์ (Completion Item) มีลักษณะเป็นข้อคำถามที่เว้นคำหรือวลีไว้แล้วให้ผู้เข้าสอบเติมคำหรือวลีที่เป็นคำตอบที่ถูกที่สุดเพียงคำตอบเดียว จำ (Remembering) จุดเด่น ออกข้อสอบได้ปริมาณมาก ครอบคลุมเนื้อหา - ลดปัญหาการเดาในข้อสอบปรนัย จุดด้อย ความคลาดเคลื่อนในการตรวจให้คะแนน
8
รูปแบบที่ 2 ระดับพฤติกรรมข้อสอบ เข้าใจ นำไปใช้
ความสัมพันธ์ของรูปแบบอัตนัยกับระดับพฤติกรรมข้อสอบ ตามแนวคิดทฤษฎีความรู้ของบลูม รูปแบบที่ 2 ระดับพฤติกรรมข้อสอบ มีลักษณะเป็นข้อสอบที่มีข้อคำถาม และให้ผู้เข้าสอบเขียนคำตอบสั้น ๆ ในที่ว่างที่เตรียมไว้ในแบบทดสอบ ซึ่งอาจเขียนคำตอบเป็นตัวหนังสือ วาดภาพ และ/หรือเขียนตัวเลข เข้าใจ นำไปใช้ จุดเด่น ออกข้อสอบได้ในระดับพฤติกรรมที่สูงกว่าขั้นจำ - ลดปัญหาการเดาในข้อสอบปรนัย จุดด้อย ความคลาดเคลื่อนในการตรวจให้คะแนน
9
ความสัมพันธ์ของรูปแบบอัตนัยกับระดับพฤติกรรมข้อสอบ ตามแนวคิดทฤษฎีความรู้ของบลูม
รูปแบบที่ 3 ระดับพฤติกรรมข้อสอบ มีลักษณะเป็นข้อสอบที่มีข้อคำถามแล้วให้ผู้เข้าสอบอธิบายคำตอบหรือให้เหตุผลประกอบคำตอบที่แสดงความเข้าใจที่มีต่อคำถาม สังเคราะห์ ประเมินค่า วิเคราะห์ นำไปใช้ เข้าใจ จุดเด่น วัดความรู้ความคิดในการบูรณาการเชื่อมโยงกับศาสตร์ อื่นๆได้อย่างชัดเจน - ลดปัญหาการเดาในข้อสอบปรนัย จุดด้อย ความคลาดเคลื่อนในการตรวจให้คะแนน
10
กระบวนการทางปัญญาด้านพุทธิพิสัยของบลูม 6 ขั้นตอน
กระบวนการทางปัญญาด้านพุทธิพิสัยของบลูม 6 ขั้นตอน 1.จำ (Remembering) หมายถึง ความสามารถในการระลึกได้ แสดงรายการได้ บอกได้ ระบุ บอกชื่อได้ การบอกชื่อ การบอกตำแหน่ง การให้สัญลักษณ์ ยกตัวอย่าง บอกความสัมพันธ์ การจัดกลุ่ม คัดเลือกได้ อธิบายใต้รูปภาพ เรียงลำดับ จับคู่ บันทึกข้อมูล
11
กระบวนการทางปัญญาด้านพุทธิพิสัยของบลูม 6 ขั้นตอน
กระบวนการทางปัญญาด้านพุทธิพิสัยของบลูม 6 ขั้นตอน 2. เข้าใจ (Understanding) หมายถึง ความสามารถในการแปล ความหมาย ยกตัวอย่าง สรุปอ้างอิง การเรียบเรียงใหม่ การจำแนกหมวดหมู่ สังเกต ทำเค้าโครงเรื่อง ให้คำจำกัดความ แปลความหมาย ประมาณค่า
12
กระบวนการทางปัญญาด้านพุทธิพิสัยของบลูม 6 ขั้นตอน
กระบวนการทางปัญญาด้านพุทธิพิสัยของบลูม 6 ขั้นตอน 3. ประยุกต์ใช้ (Applying) หมายถึง ความสามารถในการนำไปใช้ ประยุกต์ใช้ แก้ไขปัญหา ลงมือทำ แปลความหมาย ใช้ภาพประกอบ การ คำนวณ เรียงลำดับ การแก้ปัญหา ประยุกต์ใช้ คาดคะเน
13
กระบวนการทางปัญญาด้านพุทธิพิสัยของบลูม 6 ขั้นตอน
กระบวนการทางปัญญาด้านพุทธิพิสัยของบลูม 6 ขั้นตอน 4. วิเคราะห์ (Analyzing) หมายถึง ความสามารถในการเปรียบเทียบ อธิบายลักษณะ การจัดการ ทดลอง แยกกลุ่ม คำนวณ วิพากษ์วิจารณ์ ลำดับ เรื่อง ทำแผนผัง หาความสัมพันธ์
14
กระบวนการทางปัญญาด้านพุทธิพิสัยของบลูม 6 ขั้นตอน
กระบวนการทางปัญญาด้านพุทธิพิสัยของบลูม 6 ขั้นตอน 5. ประเมินค่า (Evaluating) หมายถึง ความสามารถในการตรวจสอบ วิจารณ์ ตัดสิน ให้คะแนน ประมาณค่า เปรียบเทียบผล ตีค่า สรุป แนะนำ สืบค้น ตัดสินใจ คัดเลือก วัด
15
กระบวนการทางปัญญาด้านพุทธิพิสัยของบลูม 6 ขั้นตอน
กระบวนการทางปัญญาด้านพุทธิพิสัยของบลูม 6 ขั้นตอน 6. คิดสร้างสรรค์ (Creating) หมายถึง ความสามารถใน การออกแบบ (Design) วางแผน ผลิต ประดิษฐ์ พยากรณ์ ออกแบบ ทำนาย สร้างสูตร วางแผน จินตนาการ ติดตั้ง
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.