ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
ปรัชญาวัตถุนิยมวิภาษ (Dialectical Materialism)
“ The philosophers have only interpreted the world, in various ways; the point is to change it. “ Karl Marx , spring 1845. Present By PP on Feb 7,2007.
2
ฐานะและความสัมพันธ์ของปรัชญากับความรู้แขนงต่างๆของมนุษยชาติ ปรัชญา คือความรู้แห่งความรู้
ธรรมชาติ ฟิสิคส์ เคมี ชีววิทยา กลศาสตร์ ฯลฯ สังคม เศรษฐศาสตร์ รัฐศาสตร์ นิติศาสตร์ มนุษยศาสตร์ ฯลฯ
3
ที่มาและพัฒนาการของปรัชญาวัตถุนิยมวิภาษ
ปรัชญาวัตถุนิยมของฟอยเออร์บั๊ค (Ludwig Feuerbach ) คือ ปรัชญาวัตถุนิยมแบบกลไก ปรัชญาวิภาษวิธีของเฮเกล(Georg Wilhelm Friedrich Hegel ) คือปรัชญาวิภาษวิธีแบบจิตนิยม
4
ฐานะและความสัมพันธ์ของปรัชญาวัตถุนิยมวิภาษ กับทฤษฎีอื่นๆของมาร์กซ
กับทฤษฎีวัตถุนิยมประวัติศาสตร์ กับทฤษฎีเศรษฐศาสตร์ กับทฤษฎีสังคมนิยม
5
วัตถุนิยมกับจิตนิยม โลกและจักรวาล คืออะไร ? –ปัญหาแรกของปรัชญา
วัตถุ(matter) ดำรงอยู่มาก่อน เป็นอิสระ และไม่ขึ้นกับจิต(Mind) วัตถุ เป็นต้นตอ จิตเป็นเพียงภาพสะท้อนของวัตถุ มนุษย์ สามารถเรียนรู้ โลก จักรวาลและกฎของมันได้
6
เอกภาพของด้านตรงกันข้าม : กฎแห่งความขัดแย้ง
ลักษณะทั่วไปของความขัดแย้ง คือ ดำรงอยู่ในสรรพสิ่ง ตั้งแต่ต้นจนจบ ลักษณะเฉพาะของความขัดแย้ง – ความสัมพันธ์ของเฉพาะกับทั่วไป คุณภาพของรูปแบบ กระบวนการ ขั้นตอน และ ด้านตรงข้ามที่แตกต่างกัน “วิเคราะห์รูปธรรม อย่างเป็นรูปธรรม”
7
เอกภาพของด้านตรงกันข้าม : กฎแห่งความขัดแย้ง(ต่อ)
ความขัดแย้งหลัก และความขัดแย้งรอง ด้านหลักและด้านรองของความขัดแย้ง ลักษณะที่เป็นเอกภาพกันและลักษณะที่ต่อสู้กันของด้านตรงกันข้าม
8
เอกภาพของด้านตรงกันข้าม : กฎแห่งความขัดแย้ง(ต่อ)
ลักษณะที่เป็นปฏิปักษ์ ไม่เป็นปฏิปักษ์ และการเปลี่ยนแปลง พัฒนาการแบบรูปเกลียวหรือก้นหอย – การปฏิเสธซ้อนปฏิเสธ การซ้ำรอยไปบนพื้นฐานที่สูงกว่า --ความแตกต่างจากทฤษฎีวิวัฒนาการ
9
โลกทัศน์ 2 ชนิด -- ลักษณะทั่วไปของวัตถุ
เกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน กับ โดดเดี่ยว เปลี่ยนแปลง กับ หยุดนิ่ง ปริมาณ กับ คุณภาพ มูลเหตุภายใน กับ ปัจจัยภายนอก สองด้าน กับ ด้านเดียว หนึ่ง กับ ทั้งหมด
10
โลกทัศน์ 2 ชนิด – ลักษณะทั่วไปของวัตถุ (ต่อ)
เก่า กับ ใหม่ ธาตุแท้ กับ ปรากฏการณ์ เนื้อหา กับ รูปแบบ เหตุ กับ ผล แน่นอน กับ บังเอิญ ความเป็นไปได้ กับความเป็นจริง
11
ความรู้และการปฏิบัติ
ความรู้ทางตรงกับทางอ้อม ความรู้จากคนโบราณและคนต่างแดน กระบวนการแห่งการพัฒนาของความรู้ –จาก รู้สึก สู่ เหตุผล วัตถุประสงค์และบรรทัดฐานของความรู้ – การปฏิบัติ ทฤษฎี กับ การปฏิบัติ
12
ความจริง และสัจธรรม ที่มาของสัจธรรมคือความจริง –หาสัจจะ จากความเป็นจริง สัจธรรมทั่วไปและสัจธรรมเฉพาะ สัจธรรมสัมบูรณ์และสัจธรรมสัมพัทธ์
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.