งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

Www.ilo8798.blogspot.com www.unithailand.org งานนำเสนอ “ค่าจ้างและสถานะทั่วไปของแรงงานจากทุกภาคส่วนอุตสาหกรรมในประเทศไทย” นำเสนอโดย วิไลวรรณ แซ่เตีย ประธานคณะกรรมการสมานฉันท์แรงงานไทย.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "Www.ilo8798.blogspot.com www.unithailand.org งานนำเสนอ “ค่าจ้างและสถานะทั่วไปของแรงงานจากทุกภาคส่วนอุตสาหกรรมในประเทศไทย” นำเสนอโดย วิไลวรรณ แซ่เตีย ประธานคณะกรรมการสมานฉันท์แรงงานไทย."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 www.ilo8798.blogspot.com www.unithailand.org
งานนำเสนอ “ค่าจ้างและสถานะทั่วไปของแรงงานจากทุกภาคส่วนอุตสาหกรรมในประเทศไทย” นำเสนอโดย วิไลวรรณ แซ่เตีย ประธานคณะกรรมการสมานฉันท์แรงงานไทย วันที่ 28 เมษายน 2553

2 การปรับค่าจ้างขั้นต่ำทั่วประเทศ
ปรับขึ้น 1 บาท มีด้วยกัน 7 จังหวัด ต่ำสุด 150 บาท เป็น 151 บาท (พะเยา , แพร่) สูงสุด 162 บาท เป็น 163 บาท (เลย)

3 การปรับค่าจ้างขั้นต่ำทั่วประเทศ (ต่อ)
ปรับขึ้น 2 บาท มีด้วยกัน 20 จังหวัด ต่ำสุด 150 บาท เป็น 152 บาท (ศรีสะเกษ) สูงสุด 203 บาท เป็น 205 บาท (นนทบุรี , ปุทมธานี , นครปฐม , สมุทรสาคร)

4 การปรับค่าจ้างขั้นต่ำทั่วประเทศ (ต่อ)
ปรับขึ้น 3 บาท มีด้วยกัน 11 จังหวัด ต่ำสุด 151 บาท เป็น 154 บาท (มหาสารคาม) สูงสุด 203 บาท เป็น 206 บาท (กทม , สมุทรปราการ)

5 การปรับค่าจ้างขั้นต่ำทั่วประเทศ (ต่อ)
ปรับขึ้น 4 บาท มีด้วยกัน 20 จังหวัด ต่ำสุด 152 บาท เป็น 156 บาท (ชัยภูมิ) สูงสุด 180 บาท เป็น 184 บาท (ชลบุรี)

6 การปรับค่าจ้างขั้นต่ำทั่วประเทศ (ต่อ)
ปรับขึ้น 5 บาท มีด้วยกัน 6 จังหวัด ต่ำสุด 155 บาท เป็น 160 บาท (ยะลา) สูงสุด 179 บาท เป็น 184 บาท (สระบุรี)

7 การปรับค่าจ้างขั้นต่ำทั่วประเทศ (ต่อ)
ปรับขึ้น 6 บาท 154 บาท เป็น 160 บาท (อุบลราชธานี) ปรับขึ้น 8 บาท 173 บาท เป็น 181 บาท (อยุธยา) จังหวัดที่ไม่มีการปรับค่าจ้าง คือ แม่ฮ่องสอน , สุโขทัย , เชียงราย , เพชรบูรณ์ , อุทัยธานี

8 www.ilo8798.blogspot.com www.unithailand.org
ในปี 2551 และ 2552 คณะกรรมการสมานฉันท์แรงงานไทย และเครือข่ายองค์กรแรงงาน ได้มีการออกแบบสำรวจเพื่อประกอบการผลักดันค่าจ้างที่เป็นธรรม โดยเป็นแบบสำรวจที่ใช้ในการเก็บข้อมูลเกี่ยวกับค่าใช้จ่ายจิงในการดำรงชีพของลูกจ้าง 1 คน ต่อวัน ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับสาธารณูปโภคอื่นๆที่ต้องจ่ายจริงต่อเดือน และข้อมูลค่าจ้างขั้นต่ำต่อวันที่ควรจะเป็น ซึ่งจากการเก็บข้อมูลของแบบสำรวจดังกล่าวกว่า 500 ชุด จากคนงานกลุ่มต่างๆ ทำให้ทราบข้อมูลดังต่อไปนี้

9 ค่าใช้จ่ายในการดำรงชีพต่อวัน
ประกอบด้วย ค่าพาหนะ บาท/วัน อาหาร , เครื่องดื่ม บาท/วัน ยา รักษาโรค บาท/วัน รวมค่าใช้จ่ายต่อวัน บาท/วัน

10 ค่าใช้จ่ายในการดำรงชีพต่อวัน
ค่าใช้จ่ายต่อวัน บาท/วัน คิดเป็นค่าใช้จ่ายรายเดือน 5, บาท/เดือน (ปี 2552) โดยในปี 2551 ค่าใช้จ่ายในการดำรงชีพประจำวันจากการสำรวจ มีค่าเฉลี่ย 153 บาท/วัน คิดเป็น 4,590 บาท/เดือน ทำให้เห็นว่าค่าใช้จ่ายในการดำรงชีพปัจจุบันสูงขึ้นถึง %

11 ค่าใช้จ่ายประจำเดือน
ประกอบด้วย ค่าเช่าบ้านพัก ที่อาศัย 1, บาท/เดือน ค่าประปา กระแสไฟฟ้า บาท/เดือน กิจกรรมทางสังคม บาท/เดือน เลี้ยงดูครอบครัว 2, บาท/เดือน ค่าใช้จ่ายในครัวเรือน 1, บาท/เดือน ค่าใช้จ่ายในการศึกษาเรียนรู้ 1,005.03บาท/เดือน รวมค่าใช้จ่ายรายเดือน 7, บาท/เดือน

12 ค่าใช้จ่ายประจำเดือน
ค่าใช้จ่ายรายเดือน 7, บาท/เดือน (ปี 2552) โดยใน 2551 ค่าใช้จ่ายรายเดือนจากการสำรวจคิดเป็นอัตราเฉลี่ยที่ 6,607.88บาท/เดือน ซึ่งจะเห็นได้ว่าค่าใช้จ่ายรายเดือนของคนงานในปัจจุบันมีอัตราเพิ่มขึ้นถึง 11.52%

13 รวมค่าใช้จ่ายทั้งหมดต่อเดือน
ค่าใช้จ่ายในการดำรงชีพรายวันในหนึ่งเดือน 5, บาท ค่าใช้จ่ายรายเดือน 7, บาท รวมค่าใช้จ่ายทั้งหมด 12, บาท (ปี 2552)

14 ค่าแรงที่ควรจะเป็น www.ilo8798.blogspot.com www.unithailand.org
จากค่าใช้จ่ายทั้งหมดต่อเดือน 12, บาท ดังนั้นค่าจ้างต่อวันที่จะเพียงพอต่อค่าใช้จ่ายก็ควรจะเป็น บาท (12, หารด้วย 30 วัน)

15 ค่าแรงที่เป็นธรรม www.ilo8798.blogspot.com www.unithailand.org
ในขณะเดียวกันตัวเลขค่าแรงต่อวันที่คนงานมีความต้องการจากการสำรวจมีค่าเฉลี่ยอยู่เพียง บาท ซึ่งต่ำกว่าค่าแรงที่ควรจะเป็นถึง บาท ดังนั้นเพื่อให้เกิดความเป็นธรรมในเรื่องค่าแรงและให้เป็นไปตามความต้องการของคนงาน ขบวนการแรงงานควรผลักดันให้เกิดอัตราค่าจ้างขั้นต่ำที่เป็นธรรมเท่ากันทั่วประเทศในอัตรา 316 บาท

16 รณรงค์เพื่อค่าแรงที่เป็นธรรม
316 บาทต่อวัน เท่ากันทั่วประเทศ


ดาวน์โหลด ppt Www.ilo8798.blogspot.com www.unithailand.org งานนำเสนอ “ค่าจ้างและสถานะทั่วไปของแรงงานจากทุกภาคส่วนอุตสาหกรรมในประเทศไทย” นำเสนอโดย วิไลวรรณ แซ่เตีย ประธานคณะกรรมการสมานฉันท์แรงงานไทย.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google