งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การวัดประสิทธิภาพการผลิตถั่วเหลือง

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การวัดประสิทธิภาพการผลิตถั่วเหลือง"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การวัดประสิทธิภาพการผลิตถั่วเหลือง
ส่วนวิจัยเศรษฐกิจเทคโนโลยีและปัจจัยทางการเกษตร สำนักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร 24 สิงหาคม 2554

2 โจทย์การวิจัย ทำไมพื้นที่การผลิตถั่วเหลืองของภาคเหนือตอนล่างลดลง
อย่างต่อเนื่อง ผลผลิตถั่วเหลืองขึ้นกับปัจจัยอะไรบ้าง เกษตรกรแต่ละรายมีประสิทธิภาพการผลิตเท่าไร

3 วัตถุประสงค์ของการศึกษา
1. เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิภาพทางเทคนิค 2. เพื่อวิเคราะห์ประสิทธิภาพทางเทคนิคของการผลิต ถั่วเหลืองฤดูแล้ง

4 ขอบเขตการศึกษา พื้นที่ศึกษา
การศึกษาครั้งนี้ ทำการเก็บรวบรวมข้อมูลเกษตรกรที่ผลิต ถั่วเหลืองฤดูแล้ง ปีเพาะปลูก 2553/54 พื้นที่ในจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง ได้แก่ สุโขทัย ตาก กำแพงเพชร พิษณุโลก เพชรบูรณ์

5 แนวคิดในการวิเคราะห์
ปัจจัยการผลิตทางตรง (X i) - ขึ้นอยู่กับการส่งเสริม - การได้รับข้อมูลข่าวสาร - ความรู้ - ประสบการณ์ ตัดสินใจเลือก ตัดสินใจใช้ เกษตรกร (ผู้จัดการ) ปัจจัยการผลิตทางกายภาพ (U i) - ขนาดพื้นที่ - ลักษณะพื้นที่ปลูก - ระบบฟาร์ม บริหาร จัดการ ผลผลิต ควบคุม ไม่ได้ ปัจจัยการผลิตทางธรรมชาติ (Vi) - ฝนตก แล้ง - ภูมิอากาศ

6 วิธีการศึกษา TE = exp (-ui) โดย ui คือ ความไม่มีประสิทธิภาพทางเทคนิค
Y = f ( X, ) + โดย

7 วิธีการศึกษา (ต่อ) วิเคราะห์ TE อาศัยการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณผลผลิตกับปัจจัยที่มีอิทธิพล ด้วยฟังก์ชั่นการผลิตแบบ Cobb Duglas วิธี maximum likelihood โดยใช้โปรแกรม Stochastic frontier 4.1 ซึ่งมีรูปแบบฟังก์ชั่นการผลิตดังนี้

8 ตัวแปรต่างๆที่ใช้ มีดังนี้
วิธีการศึกษา (ต่อ) ตัวแปรต่างๆที่ใช้ มีดังนี้ Yi = ปริมาณผลผลิตถั่วเหลือง (กก.ต่อไร่) lai = จำนวนแรงงาน (ชั่วโมง/ไร่) Seedi = ปริมาณเมล็ดพันธุ์ (กก.ต่อไร่) fueli = ปริมาณน้ำมัน (ลิตรต่อไร่) Dhor = การใช้ฮอร์โมน (Dhor = 0 ไม่ใส่ฮอร์โมน , Dhor = 1 ใส่ฮอร์โมน

9 ตัวแปรต่างๆที่ใช้ มีดังนี้
วิธีการศึกษา (ต่อ) ตัวแปรต่างๆที่ใช้ มีดังนี้ Dherbi = การใช้สารกำจัดวัชพืช (Dherbi = 0 ไม่ใช้ สารกำจัดวัชพืช , Dherbi = 1 ใช้สารกำจัดวัชพืช Dprot = การใช้สารกำจัดแมลง (Dprot = 0 ไม่ใช้สารกำจัด แมลง, Dprot = 1 ใช้สารกำจัดแมลง Dfer = การใช้ปุ๋ยเคมี (Dfer = 0 ไม่ใช้,Dfer = 1 ใช้) Dspe = พันธุ์ (Dspe = 0 พันธุ์ไม่ส่งเสริม , Dspe = 1 พันธุ์ ส่งเสริม)

10 วิธีการศึกษา (ต่อ) = พารามิเตอร์ที่ต้องประมาณค่า
มีค่ามากกว่า น้อยกว่า หรือเท่ากับ 0 มีค่ามากกว่าหรือเท่ากับ 0 เป็นอิสระต่อกัน

11 วิธีการศึกษา (ต่อ) โดยที่
ตัวแปรที่ส่งผลต่อความไม่มีประสิทธิภาพทางเทคนิคของการผลิตถั่วเหลืองได้ดังสมการดังนี้ โดยที่ ui = ระดับความไม่มีประสิทธิภาพทางเทคนิคของการผลิตถั่วเหลือง workesi = สัดส่วนชั่วโมงงานครัวเรือนต่อชั่วโมงงานทั้งหมด yeari = ประสบการณ์การทำถั่วเหลือง (ปี) areai = จำนวนพื้นที่ปลูกถั่วเหลือง (ไร่) = พารามิเตอร์ที่ต้องการประมาณค่า

12 1. ค่าทางสถิติจากการวิเคราะห์ฟังก์ชั่นการผลิต
ผลการศึกษาวัตถุประสงค์ข้อที่ 1 1. ค่าทางสถิติจากการวิเคราะห์ฟังก์ชั่นการผลิต ตัวแปร Cofficient t-ratio *** *** *** * ** *

13 1. ค่าทางสถิติจากการวิเคราะห์ฟังก์ชั่นการผลิต
ผลการศึกษา (ต่อ) 1. ค่าทางสถิติจากการวิเคราะห์ฟังก์ชั่นการผลิต ตัวแปร Cofficient t-ratio *** ** * * Sigma Squared *** gamma ***

14 ผลการประมาณค่าประสิทธิภาพ
ผลการศึกษา (ต่อ) วัตถุประสงค์ข้อที่ 2 ผลการประมาณค่าประสิทธิภาพ ประสิทธิภาพทางเทคนิคเฉลี่ย = ประสิทธิภาพทางเทคนิคต่ำสุด = ประสิทธิภาพทางเทคนิคสูงสุด =

15 2. เกษตรกรตัวอย่างในแต่ละระดับประสิทธิภาพ
ผลการศึกษา (ต่อ) 2. เกษตรกรตัวอย่างในแต่ละระดับประสิทธิภาพ

16 ผลการศึกษา (ต่อ) 3. การใช้แรงงานของเกษตรกรในแต่ละระดับประสิทธิภาพ

17 4. การใช้เมล็ดพันธุ์ของเกษตรกรในแต่ละระดับประสิทธิภาพ
ผลการศึกษา (ต่อ) 4. การใช้เมล็ดพันธุ์ของเกษตรกรในแต่ละระดับประสิทธิภาพ

18 5. การใช้น้ำมันของเกษตรกรในแต่ละระดับประสิทธิภาพ
ผลการศึกษา (ต่อ) 5. การใช้น้ำมันของเกษตรกรในแต่ละระดับประสิทธิภาพ

19 6. การใช้ฮอร์โมนของเกษตรกรในแต่ละระดับประสิทธิภาพ
ผลการศึกษา (ต่อ) 6. การใช้ฮอร์โมนของเกษตรกรในแต่ละระดับประสิทธิภาพ

20 ผลการศึกษา (ต่อ) 7. การใช้สารกำจัดวัชพืชของเกษตรกรในแต่ละระดับประสิทธิภาพ

21 8. การใช้ยาฆ่าแมลงของเกษตรกรในแต่ละระดับประสิทธิภาพ
ผลการศึกษา (ต่อ) 8. การใช้ยาฆ่าแมลงของเกษตรกรในแต่ละระดับประสิทธิภาพ

22 9. การใช้ปุ๋ยของเกษตรกรในแต่ละระดับประสิทธิภาพ
ผลการศึกษา (ต่อ) 9. การใช้ปุ๋ยของเกษตรกรในแต่ละระดับประสิทธิภาพ

23 10. ลักษณะของพันธุ์ในแต่ละระดับประสิทธิภาพ
ผลการศึกษา (ต่อ) 10. ลักษณะของพันธุ์ในแต่ละระดับประสิทธิภาพ

24 11. สัดส่วนแรงงานเกษตรกรในแต่ละระดับประสิทธิภาพ
ผลการศึกษา (ต่อ) 11. สัดส่วนแรงงานเกษตรกรในแต่ละระดับประสิทธิภาพ

25 12. ประสบการณ์ของเกษตรกรในแต่ละระดับประสิทธิภาพ
ผลการศึกษา (ต่อ) 12. ประสบการณ์ของเกษตรกรในแต่ละระดับประสิทธิภาพ

26 13. พื้นที่ของเกษตรกรในแต่ละระดับประสิทธิภาพ
ผลการศึกษา (ต่อ) 13. พื้นที่ของเกษตรกรในแต่ละระดับประสิทธิภาพ

27 ต้นทุนผลตอบแทน ผลผลิต 239.86 กก./ไร่ ราคาขายกิโลกรัมละ 14.15 บาท
รายการ  ถั่วเหลือง เป็นเงินสด ไม่เป็นเงินสด รวม ต้นทุนผันแปร (บาท/ไร่) 2,813.40 691.00 3,504.40 ต้นทุนคงที่ (บาท/ไร่) 520.90 184.78 705.68 ต้นทุนทั้งหมด (บาท/ไร่) 3,334.30 875.78 4,210.08 รวมต้นทุนทั้งหมด (บาท/กก.) 13.90 3.65 17.55 รายได้เบื้องต้น (บาท/ไร่) 3,394.02 รายได้เหนือต้นทุนเงินสด (บาท/ไร่) 59.72 รายได้เหนือต้นทุนผันแปร (บาท/ไร่) รายได้เหนือต้นทุนทั้งหมด (บาท/ไร่) ผลผลิต กก./ไร่ ราคาขายกิโลกรัมละ บาท

28 ข้อเสนอแนะจากศึกษา 1. ภาครัฐควรจัดอบรมเทคนิคการใช้ปัจจัยการผลิตให้แก่เกษตรกร 2. ภาครัฐควรมีข้อมูลเกี่ยวกับปริมาณฝนและการ คาดการณ์เกี่ยวกับโอกาสที่ฝนจะตก 3. เกษตรกรควรลดสัดส่วนแรงงานในครัวเรือน 4. ควรส่งเสริมให้ปลูกถั่วเหลืองรายละไม่เกิน 10 ไร่ 5. ควรส่งเสริมให้มีศูนย์เมล็ดพันธุ์ถั่วเหลือง

29 ข้อเสนอจากเกษตรกร 1. สนับสนุนปัจจัยการผลิต
1. สนับสนุนปัจจัยการผลิต 2. ฝึกอบรมด้านเทคนิคการเกษตรสมัยใหม่ 3. ความรู้เกี่ยวกับการใช้สารที่ถูกต้อง 4. การประกันราคา 5. จัดหาตลาดรองรับสินค้าปลอดภัย

30 ขอบคุณค่ะ ทีมงานนักวิจัย
LOGO 05/04/60www.themegallery.com


ดาวน์โหลด ppt การวัดประสิทธิภาพการผลิตถั่วเหลือง

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google