ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยChaowas Atitarn ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
นโยบายและยุทธศาสตร์ด้านวิเทศสัมพันธ์ของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (2555 – 2559)
รศ. โรม จิรานุกรม รองอธิการบดีฝ่ายวิเทศสัมพันธ์และนักศึกษาเก่าสัมพันธ์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
2
นโยบายรัฐบาล ๑.๖ เร่งฟื้นฟูความสัมพันธ์และพัฒนาความร่วมมือกับประเทศ เพื่อนบ้านและนานาประเทศ เพื่อสนับสนุนการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจในภูมิภาคร่วมกัน โดยเฉพาะการ เร่งแก้ไขปัญหากระทบกระทั่งตามแนวพรมแดน ผ่านกระบวนการทางการทูต บนพื้นฐานของสนธิสัญญาและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง และเร่งดำเนินการ ตาม ข้อผูกพันในการรวมตัวเป็นประชาคมอาเซียนในปี ๒๕๕๘ ทั้งในมิติ เศรษฐกิจ สังคม และความมั่นคงตลอดจนการเชื่อมโยงเส้นทางคมนาคมขนส่ง ภายในและภายนอกภูมิภาค
3
ทิศทางการอุดมศึกษาของไทย ในปี 2559
4
ยุทธศาสตร์อุดมศึกษาไทย พ.ศ. 2555 - 2559 ‘LEGS Strategy’
ยุทธศาสตร์ที่ 1 ‘L’ Leader of Change Management for Quality Education ยุทธศาสตร์ที่ 2 : ‘E’ Educator Professional ยุทธศาสตร์ที่ 3 : ‘G’ Graduated with Quality and Social Responsibility ยุทธศาสตร์ที่ 4 : ‘S’ Satang Utilization
5
ยุทธศาสตร์อุดมศึกษาไทย พ.ศ. 2555 - 2559 ‘LEGS Strategy’
ยุทธศาสตร์ที่ 1 ‘L’ Leader of Change Management for Quality Education กลยุทธ์ 1.6: ต่อยอดสถาบันอุดมศึกษาที่มีศักยภาพ ให้เป็น สถาบันอุดมศึกษาขั้นนำระดับโลก กลยุทธ์ 1.7: ยกระดับอุดมศึกษาไทย ให้มีบทบาทสูงในประชาคมอาเซียน โดยเฉพาะในด้าน Higher Education Manpower Mobilization
7
ความท้าทายของ ASEAN Community
Liberalization of trade & services Cross-border education Free flow of workforce Need for international-standard HE Graduates capable of working in international environment + Mutual Recognition Arrangement (MRA) International programs International instructors International environment Permeability of credit and qualifications Employability skills Languages proficiency Cross-cultural communication skills Practical Disciplined Patient
8
ยุทธศาสตร์อุดมศึกษาไทยในการเตรียมความพร้อมสู่การเป็นประชาคมอาเซียน โดย สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ยุทธศาสตร์ที่ 1 : เพิ่มขีดความสามารถของบัณฑิต ให้มี คุณภาพมาตรฐานในระดับสากล ยุทธศาสตร์ที่ 2 : การพัฒนาความเข้มแข็งของ สถาบันอุดมศึกษา เพื่อพัฒนาประชาคมอาเซียน ยุทธศาสตร์ที่ 3 : การส่งเสริมบทบาทของสถาบันอุดมศึกษา ไทย ในประชาคมอาเซียน
9
ยุทธศาสตร์ที่ 1 การเพิ่มขีดความสามารถของบัณฑิตให้มีคุณภาพมาตรฐานในระดับสากล
กลยุทธ พัฒนาสมรรถนะด้านการใช้ภาษาอังกฤษของ นักศึกษาไทย ในระดับที่ใช้ในการทำงานได้ พัฒนาสมรรถนะด้านการประกอบวิชาชีพและการ ทำงานข้ามวัฒนธรรมของนักศึกษาไทย
16
ยุทธศาสตร์ที่อยู่ในความรับผิดชอบของงานวิเทศสัมพันธ์
ด้านการพัฒนาความเป็นสากลของมหาวิทยาลัย Cultural and Non-Academic Exchange Program International Learning Center ด้านการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน เตรียมความพร้อมด้านภาษาสำหรับบัณฑิต บุคลากรและสังคม การแลกเปลี่ยนนักศึกษา บุคลากรและคณาจารย์ในกลุ่มประเทศอาเซียน การจัดตั้ง ‘ศูนย์อาเซียน’ การเพิ่มศักยภาพด้านการท่องเที่ยว บริการ และการค้าชายแดน การพัฒนาความพร้อมของฝีมือแรงงานและผู้ประกอบการ
17
“คนในประชาคมอาเซียน ในโลกยุคโลกาภิวัตน์ มันจะไม่ สามารถให้เราเลือกมีอาชีพเดียวได้...ความเปลี่ยนแปลงทาง เศรษฐกิจมีมากขึ้นรวดเร็วขึ้น การย้ายฐานการลงทุนทาง ธุรกิจจะเกิดขึ้น ... คนในประชาคมอาเซียนจะต้องเก่งหลาย เรื่อง ทำหลายด้าน มีหลายมิติอยู่ในตัวพร้อมที่จะปรับเมื่อ สถานการณ์เปลี่ยน...รับได้ทุกสถานการณ์ความ เปลี่ยนแปลง” …ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณ อดีตเลขาธิการอาเซียน
18
ขอบคุณครับ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.