งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การเร่งรัดการดำเนินงานควบคุมวัณโรค สิงหาคม 2552

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การเร่งรัดการดำเนินงานควบคุมวัณโรค สิงหาคม 2552"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การเร่งรัดการดำเนินงานควบคุมวัณโรค 13-14 สิงหาคม 2552
พ.ญ. ศรีประพา เนตรนิยม สำนักวัณโรค กรมควบคุมโรค

2 Estimated number of cases Estimated number of deaths
สถานการณ์วัณโรคของโลก Estimated number of cases Estimated number of deaths All forms of TB Greatest number of cases in Asia; greatest rates per capita in Africa 9.27 million (139 per 100,000) 1.77 million (27 per 100,000) Multidrug-resistant TB (MDR-TB) 511,000 ~150,000 This slide that contains all essential numbers WHO estimates that worldwide in 2007 over 9 million TB cases occurred (and of those, 4 million infectious, sputum-smear (+)). 1.65 million people died of TB, which means 4500 every day. WHO estimates, based on surveys conducted in over 110 settings in the last decade, that nearly half a million cases are multi-drug resistant, and 130,000 of them lethal WHO estimates that XDR-TB cases, which are resistant to all most potent first-line and second-line, reserve drugs, were about 50,000, the majority of which are lethal. Finally, well over 700,000 cases of the 9 million are linked with HIV/AIDS. This is slightly less than 10%. In Africa, this % is much higher, up to50%. In the rest of the world, however, the vast majority of TB cases are not due to HIV. Extensively drug-resistant TB (XDR-TB) ~50,000 ~30,000 HIV-associated TB 1.4 m (15%) 456,000 Sriprapa TB Bureau การเร่งรัดการดำเนินงานควบคุมวัณโรค13-14 August 2009 (Updated Jan 2009)

3 สถานการณ์วัณโรคของประเทศไทย
จากรายงานขององค์การอนามัยโลก คาด ประมาณสถานการณ์วัณโรคของประเทศไทยดังนี้ ความชุกวัณโรคทุกประเภท ราย ผู้ป่วยรายใหม่ทุกประเภทปีละ 91,000 ราย ผู้ป่วยวัณโรคเสมหะพบเชื้อ 39,000 ราย ผู้ป่วยเสียชีวิตปีละ 13,900 ราย เป็นผู้ป่วยที่ติดเชื้อเอชไอวีร่วมด้วย 3,900 ราย ผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ติดเชื้อเอชไอวีร่วมด้วย 17 % ( คิดเป็น 15,470 ราย ) ผู้ป่วยวัณโรคดื้อยาหลายขนาน ทั้งสิ้น 2,774 ราย ผู้ป่วยวัณโรคดื้อยาหลายขนานในผู้ป่วยใหม่ 1.7 % Source: Stop TB Partnership Targets WHO Report 2009 Sriprapa TB Bureau การเร่งรัดการดำเนินงานควบคุมวัณโรค13-14 August 2009

4 ปัญหาการควบคุมวัณโรคที่ต้องการการเร่งรัด
การดำเนินงานวัณโรคโดยกลวิธี DOTS มีคุณภาพไม่เพียงพอ treatment success ต่ำกว่า 85% อัตราตายและขาดยาสูง ผู้ป่วยส่วนหนึ่งไม่ทราบผลการรักษา Sriprapa TB Bureau การเร่งรัดการดำเนินงานควบคุมวัณโรค13-14 August 2009

5 การเร่งรัดการดำเนินงานควบคุมวัณโรค13-14 August 2009
อัตราผลการรักษาของผู้ป่วยวัณโรคใหม่เสมหะพบเชื้อ ในประเทศไทย ปี (Treatment outcomes of New SS+ TB cases registered in Thailand, 2003 – 2007) Sriprapa TB Bureau การเร่งรัดการดำเนินงานควบคุมวัณโรค13-14 August 2009

6 การเร่งรัดการดำเนินงานควบคุมวัณโรค13-14 August 2009
อัตราผลการรักษาที่ไม่ประสบความสำเร็จของผู้ป่วยวัณโรคใหม่เสมหะพบเชื้อ ปี (Unfavourable outcome of New SS+ TB patients registered in Thailand, 2003 – 2007) Sriprapa TB Bureau การเร่งรัดการดำเนินงานควบคุมวัณโรค13-14 August 2009

7 การเร่งรัดการดำเนินงานควบคุมวัณโรค13-14 August 2009
2) การเข้าถึงการดูแลรักษาการติดเชื้อเอช ไอ วี ในผู้ป่วยวัณโรคที่ติดเชื้อเอช ไอ วี ความชุกของการติดเชื้อเอชไอวีในผู้ป่วยวัณโรค สูงมาก (17-20%) อัตราการตายสูงมาก 20-30% ส่วนใหญ่เสียชีวิตภายใน 2 เดือนแรกที่เริ่มรักษาวัณโรค ผู้ป่วยวัณโรคที่ติดเชื้อเอชไอวีส่วนใหญ่ (70-80 %) มีค่า CD4 < 250 ผู้ป่วยวัณโรคที่ติดเชื้อเอชไอวี เข้าถึงยาต้านไวรัส ขณะที่กำลังรักษาวัณโรค ยังต่ำกว่าเป้าหมายมาก Sriprapa TB Bureau การเร่งรัดการดำเนินงานควบคุมวัณโรค13-14 August 2009

8 HIV testing among TB patients in Thailand, 2006-8.
79 68 52 Sriprapa TB Bureau การเร่งรัดการดำเนินงานควบคุมวัณโรค13-14 August 2009

9 CPT for TB/HIV patients in Thailand , 2006-8
(2006) (2007) (2008) Sriprapa TB Bureau การเร่งรัดการดำเนินงานควบคุมวัณโรค13-14 August 2009

10 ART for TB/HIV patients in Thailand , 2006-8.
(2006) (2007) (2008) 60 Sriprapa TB Bureau การเร่งรัดการดำเนินงานควบคุมวัณโรค13-14 August 2009

11 Intensified TB finding among newly detected PHAs in Thailand , 2006-8.
Sriprapa TB Bureau การเร่งรัดการดำเนินงานควบคุมวัณโรค13-14 August 2009

12 การเร่งรัดการดำเนินงานควบคุมวัณโรค13-14 August 2009
Treatment outcomes of new smear positive TB patients in 2007, Thailand. Success Fail Died Default TO Total NM+ 81.3% 1.7% 8.6% 4.9% 1.6% TB (HIV+) 67.7% 1.9% 22.2% 5.7% 2.5% TB ( HIV- , unknown) 82.3% 6.8% 4.8% 1.5% Sriprapa TB Bureau การเร่งรัดการดำเนินงานควบคุมวัณโรค13-14 August 2009 12

13 ปัญหาอุปสรรคของการได้รับยาต้านแก่ไวรัสผู้ป่วย TB/HIV
การตรวจเลือดเอชไอวียังไม่ครอบคลุมในผู้ป่วยวัณโรคทั้งหมด ผู้ติดเชื้อเข้าถึงบริการล่าช้า ผู้ป่วยวัณโรคที่ติดเชื้อเอชไอวี ไม่ได้รับการตรวจ CD4 ทุกราย (69% in 2008 ) ผู้ป่วยวัณโรคที่ติดเชื้อเอชไอวี ได้รับรักษาวัณโรคให้ครบก่อน จึงจะพิจารณาให้ยา ARVs แพทย์ที่คลินิกวัณโรคขาดทักษะและความเชี่ยวชาญในการให้ยา ARVs Sriprapa TB Bureau การเร่งรัดการดำเนินงานควบคุมวัณโรค13-14 August 2009

14 3) การขาดการมีส่วนร่วมของชุมชน ในการควบคุมวัณโรค
กิจกรรมการดำเนินงานวัณโรค รับผิดชอบโดย health facilities เป็นหลัก ผู้ป่วยวัณโรคได้รับการดูแล โดยมีคนในชุมชน เช่น อสม. ผู้นำชุมชนอื่นๆ เป็น พี่เลี้ยงเพียง 5% เท่านั้น ไม่มี TB patient support group Sriprapa TB Bureau การเร่งรัดการดำเนินงานควบคุมวัณโรค13-14 August 2009

15 การเร่งรัดการดำเนินงานควบคุมวัณโรค13-14 August 2009
4) การค้นหา และ/หรือ รายงานผู้ป่วยวัณโรคเด็กยังขาดความเข้มแข็ง จากข้อมูลรายงานผู้ป่วยของประเทศไทย เป็นผู้ป่วยเด็กอายุ < 15 ปี เพียง 1 % (กลุ่มผู้ป่วยใหม่เสมหะบวกเป็นเด็กเพียง 0.4%) โดยทั่วไป ควรผู้ป่วยเด็ก ประมาณ 5 % ปัญหาหนึ่งในหลายปัญหา คือ การค้นหาในผู้สัมผัสโรค (household contact investigations) ไม่เข้มแข็ง Sriprapa TB Bureau การเร่งรัดการดำเนินงานควบคุมวัณโรค13-14 August 2009

16 5) ปัญหาวัณโรคในเรือนจำ
อัตราความสำเร็จในการรักษาผู้ป่วยวัณโรคอยู่ระดับที่ต่ำ อัตราตายสูง อัตราการโอนออกและไม่ทราบผลการรักษาสูงมาก ผลกระทบของการติดเชื้อเอชไอวี ต่อวัณโรค Sriprapa TB Bureau การเร่งรัดการดำเนินงานควบคุมวัณโรค13-14 August 2009

17 6) ระบบการควบคุมวัณโรคดื้อยาหลายขนานยังไม่ดีพอ
MDR-TB ในผู้ป่วยใหม่ 1.7% และ 34% ในผู้ป่วยเก่า ( ข้อมูลจากการสำรวจวัณโรคดื้อยา ) องค์การอนามัยโลกคาดว่าประเทศไทยมีผู้ป่วย MDR-TB ราย การดำเนินงานในทุกระดับยังมีปัญหา ยังไม่มีหลักสูตรเฉพาะในการอบรม การนิเทศงานไม่เพียงพอ ขาด on the job training ระบบการบันทึกและการรายงานยังอ่อนแอมาก ไม่มีข้อมูลในการวิเคราะห์และประเมิน เพื่อการวางแผนและกำหนดนโยบายระดับประเทศ Sriprapa TB Bureau การเร่งรัดการดำเนินงานควบคุมวัณโรค13-14 August 2009

18 7. ความร่วมมือของหน่วยงานรัฐอื่นๆ และเอกชน
อัตราการค้นหารายป่วย ในผู้ป่วยวัณโรคทุกประเภท CDR 58% ในผู้ป่วยวัณโรครายใหม่เสมหะพบเชื้อ CDR 72% คาดว่ามีผู้ป่วยวัณโรค ถึง % ที่ได้รับบริการการวินิจฉัยและรักษาในโรงพยาบาลของหน่วยงานรัฐสังกัดอื่นๆ และในโรงพยาบาลมหาวิทยาลัย Sriprapa TB Bureau การเร่งรัดการดำเนินงานควบคุมวัณโรค13-14 August 2009

19 จำนวนผู้ป่วยวัณโรคที่ได้รับรายงาน (TB case notification) 2544-2551

20 อัตราการตรวจพบรายป่วย (Case detection rate)

21 ยุทธศาสตร์การควบคุมวัณโรคของประเทศไทย
การส่งเสริมคุณภาพการดำเนินงาน DOTS การเร่งรัดการผสมผสานวัณโรคและเอดส์ การควบคุม MDR TB , วัณโรคในเรือนจำ วัณโรคในแรงงานเคลื่อนย้ายและชายแดน วัณโรคในเด็ก และกลุ่มเสี่ยงพิเศษอื่นๆ การเสริมสร้างความเข้มแข็งของระบบสุขภาพ การสร้างภาคีเครือข่ายความร่วมมือกับภาครัฐอื่นๆและภาคเอกชน การกระตุ้นพลังผู้ป่วยและสังคมและการมีส่วนร่วมของชุมชน การสนับสนุนการศึกษาวิจัย Sriprapa TB Bureau การเร่งรัดการดำเนินงานควบคุมวัณโรค13-14 August 2009

22 ตัวชี้วัดความสำเร็จของเป้าหมาย
1.การดำเนินงานตามยุทธศาสตร์ DOTS อัตราการตรวจพบวัณโรคปอดเสมหะพบเชื้อ >70% อัตราความสำเร็จการรักษาวัณโรคปอดเสมหะพบเชื้อ >85% 2.การดำเนินงานวัณโรคและเอดส์ ผู้ป่วยวัณโรคได้รับการตรวจการติดเชื้อเอช ไอ วี >85% ผู้ป่วยวัณโรคที่ติดเชื้อเอช ไอ วี ได้รับ ART >60% ผู้ติดเชื้อเอช ไอ วี ได้รับการตรวจคัดกรองวัณโรค >90% 3.การวินิจฉัยและรักษาวัณโรคดื้อยาหลายขนาน ผู้ป่วยมีประวัติรักษามาก่อนและรายป่วยเรื้อรังได้รับการทดสอบความไวต่อยา100% ผู้ป่วยวัณโรคดื้อยาหลายขนานที่ตรวจพบ ได้เข้าสู่แผนการรักษา 100% อัตราความสำเร็จของการรักษาผู้ป่วยวัณโรคดื้อยาหลายขนาน >60% Sriprapa TB Bureau การเร่งรัดการดำเนินงานควบคุมวัณโรค13-14 August 2009

23 การเร่งรัดการดำเนินงานควบคุมวัณโรค13-14 August 2009
1 DOTS อย่างมีคุณภาพ ยุทธศาสตร์ DOTS ซึ่งประกอบด้วย Political commitment การตรวจวินิจฉัยที่ได้มาตรฐานและมีการควบคุมคุณภาพ การทำ DOT โดย อสม. ซึ่งต้องประสานงานกับกรม สบส. การสนับสนุนยาอย่างมีคุณภาพ การนิเทศ ติดตามงาน และการประเมินผล ของทุกระดับ และการจัดทำและส่งรายงานจากทุกอำเภอ ได้ถูกต้อง ครบถ้วน และตรงเวลาตามที่กำหนด Sriprapa TB Bureau การเร่งรัดการดำเนินงานควบคุมวัณโรค13-14 August 2009

24 2. การผสมผสานวัณโรคและเอดส์
การให้ความสำคัญจากผู้บริหาร : นโยบายที่เข้มแข็ง ประสานความร่วมมือระหว่าง TB และ HIV clinic เร่งรัดการคัดกรองเพื่อค้นหาวัณโรคในผู้ติดเชื้อเอชไอวี ในคลินิกเอดส์ เน้นผู้ป่วยวัณโรคที่ติดเชื้อเอชไอวี เข้าถึงบริการการดูแลรักษาโรคเอดส์ การได้รับการตรวจ CD4 และยาต้านไวรัส ระหว่างการรักษาวัณโรคให้มากขึ้น และเร็วขึ้น การอบรมให้ความรู้สำหรับบุคคลากรของโรงพยาบาล : แพทย์ พยาบาล และเจ้าหน้าที่คลินิก ( คลินิกวัณโรคและคลินิกเอดส์ ) Sriprapa TB Bureau การเร่งรัดการดำเนินงานควบคุมวัณโรค13-14 August 2009

25 การเร่งรัดการดำเนินงานควบคุมวัณโรค13-14 August 2009
Peer group ช่วยดูแล เพื่อลด stigma และเพื่อให้ผู้ติดเชื้อเอชไอวีเข้าถึงบริการสุขภาพ และช่วยดูแลรักษาด้วย การป้องกันการแพร่เชื้อวัณโรคในโรงพยาบาล การให้ยาป้องกันวัณโรคแก่ผู้ติดเชื้อเอชไอวี การนิเทศ กำกับ ติดตามงาน ร่วมกันทั้งสองแผนงาน จัดทำและส่งรายงานให้ครบถ้วน ทั้ง 2 ส่วน เร่งรัดการผสมผสานงาน TB/HIV ในโรงพยาบาลเอกชน Sriprapa TB Bureau การเร่งรัดการดำเนินงานควบคุมวัณโรค13-14 August 2009

26 การเร่งรัดการดำเนินงานควบคุมวัณโรค13-14 August 2009
3. วัณโรคดื้อยา MDR-TB อบรมการดำเนินงานวัณโรคดื้อยาอย่างเป็นระบบ ผู้ป่วยเก่าหรือผู้ป่วยใหม่ที่มีประวัติสัมผัสกับผู้ป่วย MDR-TB ควรส่งตรวจ DST ทุกราย ให้การดูแลรักษาและติดตามผล ตาม national guideline (ระบบยา และ วิธีการติดตามการรักษา) ให้การดูแล สนับสนุนการรักษาแบบ DOT อย่างเข้มงวด เพื่อป้องกันการเกิด XDR-TB จัดทำทะบียนบันทึกและทำรายงานตามแบบฟอร์มมาตรฐาน Sriprapa TB Bureau การเร่งรัดการดำเนินงานควบคุมวัณโรค13-14 August 2009

27 การเร่งรัดการดำเนินงานควบคุมวัณโรค13-14 August 2009
4 . วัณโรคในเรือนจำ เน้นการสร้างกลไกความร่วมมือระหว่างเรือนจำกับ สสจ. : ประชุม นิเทศ และประเมินผลร่วมกัน เพิ่มการค้นหาผู้ป่วยวัณโรค ( วัณโรคปอดเสมหะลบโดยเอกซเรย์ ซึ่งมีสัดส่วนมากในผู้ติดเชื้อเอชไอวี) การติดตามการรักษาผู้ป่วยที่พ้นโทษก่อนรักษาครบ โดยความร่วมมือกับคณะกรรมการคาทอลิกเพื่อผู้อพยพและผู้ต้องขัง ( NCCM ) เร่งรัดการให้ยาต้านไวรัสในผู้ป่วยวัณโรคที่ติดเชื้อเอชไอวีเพื่อลดอัตราตาย Sriprapa TB Bureau การเร่งรัดการดำเนินงานควบคุมวัณโรค13-14 August 2009

28 การเร่งรัดการดำเนินงานควบคุมวัณโรค13-14 August 2009
5. วัณโรคในเด็ก สร้างกลไกความร่วมมือระหว่างแผนกเด็กและอายุรกรรมในโรงพยาบาล การอบรมกุมารแพทย์ พยาบาล และผู้ประสานงานที่รับผิดชอบ กำกับ ติดตาม การวินิจฉัยและรักษาที่เป็นมาตรฐาน การตรวจผู้สัมผัสวัณโรคเสมหะพบเชื้อ การให้ยาป้องกันการป่วยเป็นวัณโรค ( Isoniazid preventive therapy : IPT) จัดทำรายงานและรายงาน ( TB07,07/1 และ TB08 ) เช่นเดียวกับผู้ใหญ่ ส่งให้กับ สสจ. และ สคร. Sriprapa TB Bureau การเร่งรัดการดำเนินงานควบคุมวัณโรค13-14 August 2009

29 6. การดำเนินงานในกลุ่มเสี่ยง
ผู้ป่วยสูงอายุ ในผู้ป่วยใหม่เสมหะพบเชื้อ กลุ่มอายุที่มีอัตราการป่วยสูงที่สุดคือ กลุ่มผู้สูงอายุ ( อายุ > 65 ปี ) การศีกษารวบรวมข้อมูลการตายในผู้ป่วยที่ไม่ติดเชื้อเอชไอวี พบว่า ผู้ป่วยวัณโรคที่เสี่ยชีวิตส่วนใหญ่เป็นผู้สูงอายุ ควรเร่งรัดการค้นหาเชิงรุกในผู้สูง เพื่อรีบให้การรักษา 2. ผู้ป่วยแรงงานข้ามชาติ Sriprapa TB Bureau การเร่งรัดการดำเนินงานควบคุมวัณโรค13-14 August 2009

30 7. การพัฒนาศักยภาพของบุคคลากร
เพื่อสร้างความเข้มแข็งของระบบสุขภาพ จัดอบรมด้วยหลักสูตรมาตรฐาน นิเทศงาน และ on the job training อบรมการแปลผล และวิเคราะห์ ข้อมูลของหน่วยงาน Sriprapa TB Bureau การเร่งรัดการดำเนินงานควบคุมวัณโรค13-14 August 2009

31 8. ACSM & การมีส่วนร่วมของชุมชน
การกระตุ้นสังคมและประชาชนให้มีความรู้เรื่องวัณโรคผ่านสื่อรูปแบบต่างๆ สื่อมวลชน การรณรงค์ประชาสัมพันธ์ การดูแล DOT โดยชุมชน (อสม อส.แรงงานข้ามชาติ) การคัดกรองวัณโรคโดยกลุ่มผู้ติดเชื้อ การตั้งชมรมผู้ป่วยวัณโรค เพื่อช่วยกันให้ความรู้และดูแลกันเองในชุมชน Sriprapa TB Bureau การเร่งรัดการดำเนินงานควบคุมวัณโรค13-14 August 2009

32 การเร่งรัดการดำเนินงานควบคุมวัณโรค13-14 August 2009
9 . การศึกษาวิจัย การศึกษาสถานการณ์วัณโรคในเด็ก และวัณโรคดื้อยา ที่รักษาระหว่างปี พ.ศ (คาดว่าจะศึกษาในปี 2553) Sriprapa TB Bureau การเร่งรัดการดำเนินงานควบคุมวัณโรค13-14 August 2009

33 การเร่งรัดการดำเนินงานควบคุมวัณโรค13-14 August 2009
สรุป DOTS อย่างมีคุณภาพ ยังเป็นมาตรการหลักของการควบคุมวัณโรค เร่งรัดการผสมผสานวัณโรคและเอดส์ เพื่อลดความชุก/อุบัติการ และ ลดอัตราการตาย การวินิจฉัยและรักษาผู้ป่วย MDR-TB และจัดทำข้อมูล เพื่อทราบสถานการณ์ อย่างเร่งด่วน การค้นหาและรักษาในกลุ่มเสี่ยงต่างๆ ได้แก่ ผู้ป่วยในเรือนจำ ผู้ป่วยเด็ก ผู้ป่วยสูงอายุ แรงงานข้ามชาติ การสร้างพลังให้ชุมชน เพื่อลด stigma และเข้าถึงบริการเร็วขึ้น การประสานความร่วมมือกับโรงพยาบาลเอกชน การพัฒนาศักยภาพของบุคคลากรอย่างสม่ำเสมอ Sriprapa TB Bureau การเร่งรัดการดำเนินงานควบคุมวัณโรค13-14 August 2009

34 การเร่งรัดการดำเนินงานควบคุมวัณโรค13-14 August 2009
รวมพลัง หยุดยั้งวัณโรค Thank you for attention Sriprapa TB Bureau การเร่งรัดการดำเนินงานควบคุมวัณโรค13-14 August 2009


ดาวน์โหลด ppt การเร่งรัดการดำเนินงานควบคุมวัณโรค สิงหาคม 2552

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google