ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
การใช้ PHP ติดต่อฐานข้อมูลMySQL
2
การนำข้อมูลจาก Text File เข้าสู่ตารางใน MySQL
1. สร้างตารางใน Mysql โดยไม่ต้องใส่ข้อมูลด้วยคำสั่ง create table 2. สร้าง text file พร้อมข้อมูล โดยมีช่องว่างแทรกระหว่างข้อมูล 3. ใช้คำสั่ง load ข้อมูลดังนี้ LOAD DATA LOCAL INFILE ‘textfile.txt’ INTO TABLE tbname ; เมื่อ textfile.txt คือชื่อของ text file tbname คิอชื่อตารางใน mysql ที่จะรีบนำข้อมูลมาใส่
3
การติดต่อฐานข้อมูล MySQL
ติดต่อกับฐานข้อมูล กำหนดฐานข้อมูลที่ต้องใช้งาน กำหนดคำสั่ง SQLและสั่งให้ประมวลผล เก็บข้อมูลในตัวแปรแถวลำดับ นับจำนวนระเบียน แสดงผลผ่าน Browser ปิดการติดต่อกับฐานข้อมูล
4
ขั้นตอนการติดต่อกับฐานข้อมูล
สร้างส่วนเชื่อมต่อกับฐานข้อมูลด้วยคำสั่ง mysql_connect ดังนี้ mysql_connect(hostname, username, password) ; hostname คือ เครื่องที่ติดตั้งระบบฐานข้อมูลของ MySQL username คือ ซื่อของผู้ใช้ที่มีสิทธิ์เข้าใช้ระบบฐานข้อมูลของ MySQL password คือ รหัสผ่านของ username
5
ตัวอย่างการติดต่อกับฐานข้อมูล
MYSQL_CONNECT( "localhost", ”seree”, ”x92;ge:") OR DIE("Unable to connect to database"); หรือ
6
ตัวอย่างการติดต่อกับฐานข้อมูล
$hostname = "localhost"; $username = ”seree”; $password = ”x92;ge:"; MYSQL_CONNECT($hostname, $username, $password) OR DIE("Unable to connect to database");
7
กำหนดฐานข้อมูล ใช้ฟังก์ชัน mysql_select_db ตามรูปแบบดังนี้
mysql_select_db(databasename); ตัวอย่าง $dbName = "Sample"; mysql_select_db( "$dbName") or die ( "Unable to select database");
8
กำหนดคำสั่ง SQL สร้างคำสั่ง SQL เพื่อนำข้อมูลมาแสดงผลใช้ฟังก์ชัน mysql_query() โดยมีรูปแบบคำสั่งดังนี้ mysql_query(string query); query คือตัวแปรที่เก็บคำสั่ง SQL ที่ใช้ ตัวอย่าง $tbname = "Answer"; $sql = “ select * from $tbname”; mysql_query($sql);
9
เก็บข้อมูลในตัวแปรแถวลำดับ
เมื่อประมวลผลคำสั่ง sql แล้วต้องนำผลลัพธ์มาเก็บในตัวแปรแถวลำดับด้วยฟังก์ชัน mysql_fect_array ซึ่งมีรูปแบบดังนี้ mysql_fetch_array ($query); เมื่อ $query เป็นตัวแปรเก็บคำสั่ง sql
10
ตัวอย่าง $query = "Select * From $userstable ORDER BY Ques_ID DESC";
$result = mysql_db_query($dbName, $query); if ($result) { while ($row = mysql_fetch_array($result)) { $StID = $row[StID]; $Name = ($row[Name]); $ = ($row[ ]); }
11
นับจำนวนระเบียน ใช้ฟังก์ชัน mysql_numrows() มีรูปแบบดังนี้
mysql_num_rows( $dbquery); เมื่อ $dbqueryคือผลลัพธ์ของการ query จากฐานข้อมูล
12
ตัวอย่าง <? //ติดต่อระบบฐานข้อมูลของ MySQL
$link = mysql_connect(“localhost”,”seree”,”phpseree”); //เลือกฐานข้อมูลที่ต้องการ mysql_select_db(“test_db”, $link); //กำหนดคำสั่งที่ต้องส่งไปทำงานที่ฐานข้อมูล $query = “select * from phpuser”; //ส่งคำสั่งไปทำที่ระบบฐานข้อมูลของ MySQL $result = mysql_query($query,$link); echo “จำนวนรายการข้อมูลที่ส่งมา :”.mysql_num_rows($result); //ยกเลิกการติดต่อกับระบบฐานข้อมูล mysql_close($link); ?>
13
การนำข้อมูลมาแสดงผลผ่านbrowser
$query = "Select * From $userstable ORDER BY Ques_ID DESC"; $result = mysql_db_query($dbName, $query); $I = 0 ; while ($I < mysql_fetch_array($result)) { $StID = $row[StID]; $Name = ($row[Name]); $ = ($row[ ]); $I++ echo”TR><TD>$Stid</TD> ><TD>$Name</TD> ><TD>$ </TD><TR>” ; }
14
การปิดการติดต่อกับฐานข้อมูล
ใช้ฟังก์ชัน mysql_close() มีรูปแบบคือ mysql_close() ;
15
ตัวอย่าง ตัวอย่าง exmysql01.php โปรแกรมติดต่อกับฐานข้อมูลและแสดงข้อมูลจากตาราง book
16
การแสดงชื่อตาราง ใช้ฟังก์ชัน mysql_list_table()และ mysql_tablename() ซึ่งมีรูปแบบการใช้งานดังนี้ $dbquery= mysql_list_tables ($dbname); mysql_list_table ($dbname); mysql_tablename($dbquery,$i) ; เมื่อ $i คือ index ที่ชี้แถวที่ต้องการแสดง $dbquery คือตัวแปรเก็บรายชื่อของตารางในฐานข้อมูล $dbnameคือชื่อฐานข้อมูล
17
ตัวอย่าง ตัวอย่าง exmysql02.php แสดงรายชื่อตารางในฐานข้อมูลที่กำหนด
18
การแสดงชื่อและจำนวนฟิลด์
ใช้ฟังก์ชัน mysql_num_field(), mysql _field_name() และ mysql _field_type() เพื่อแสดงจำนวนฟิลด์ทั้งหมด,แสดงชื่อฟิลด์และประเภทของฟิล์ตามลำดับ $dbquery= mysql_db_query ($dbname,$sql); mysql_numfields ($dbquery); mysql_field_name($dbquery,$i) ; mysql_field_type($dbquery,$i) ; เมื่อ $dbquery คือการติดต่อฐานข้อมูลและใช้คำสั่ง SQL $I คือ index ที่ชี้แถวที่ต้องการ
19
ตัวอย่าง ตัวอย่าง exmysql03.php เป็นตัวอย่างที่ได้ผลลัพธ์แสดงจำนวน, ชื่อ และประเภทฟิลด์ในตาราง
20
การแสดงจำนวนระเบียนข้อมูล
ใช้ฟังก์ชัน mysql_num_row() มีรูปแบบดังนี้ $dbquery = mysql_db_query($dbname,$sql) ; mysql_num_row($dbquery) ; ตัวอย่าง exmysql04.php, exmysql05.php แสดงจำนวนระเบียนทั้งหมดในตารางของฐานข้อมูล
21
การเพิ่มข้อมูล ใช้คำสั่ง insert into มีรูปแบบคือ
insert into tbname (field1, field2,…, fieldn) values (‘val1’, ‘val2’, ‘val3’,…, ‘valn’); ตัวอย่าง exmysql06.php เป็นฟอร์มรับการเพิ่มข้อมูลโดยส่งค่าที่รับไปยังแฟ้ม exmysql07.php exmysql07.php เป็นการนำข้อมูลที่รับมาแล้วเพิ่มข้อมูลลงฐานข้อมูล
22
การค้นหาข้อมูล ใช้คำสั่ง select * form tblname where condition
ตัวอย่าง exmysql08.php เป็นฟอร์มรับข้อมมูลจากผู้ใช้เพื่อค้นหาข้อมูล โดยมีการเลือกฟิลด์ และใส่คำที่ต้องการค้นหาโดยส่งค่าที่รับไปยังแฟ้ม exmysql09.php ตัวอย่าง exmysql09.php เป็นสคริปต์สำหรับค้นหาข้อมูล โดยแสดงผลในรูปตาราง
23
การแก้ไขข้อมูล ใช้คำสั่ง
UPDATE tblname SET field1 = ‘new_value’ , field2 = ‘new_value’ , … WHERE condition; ตัวอย่าง โปรแกรม exmysql10.php ใช้แสดงข้อมูล โปรแกรม exmysql11.php ใช้เลือกข้อมูลตามฟิลด์ที่กำหนด โปรแกรม exmysql12.php เป็นสคริปต์สำหรับ updateข้อมูล โปรแกรม exmysql13.php เป็นฟอร์มรับค่าจากผู้ใช้แล้วส่งค่าไปให้สคริปต์ exmysql14.php สำหรับ updateข้อมูล
24
การแก้ไขข้อมูล(2) โปรแกรม exmysql14.php เป็นสคริปต์รับค่ามาแล้วนำไปค้นหาแล้วแสดงผล ส่งค่าไปยังโปรแกรมexmysql15.php โปรแกรม exmysql15.php เป็นสคริปต์นำหมายเลข barcodeมาเลือกข้อมูลแล้วแสดงฟอร์มให้แก้ไข โดยห้ามแก้ไข barcodeและส่งค่าไปให้ โปรแกรม exmysql16.php โปรแกรม exmysql16.php ทำหน้าที่ updateข้อมูล
25
การลบข้อมูล ใช้คำสั่ง delete มีรุปแบบดังนี้
Delete from tblname where condition ตัวอย่าง โปรแกรมexmysql17.php เป็นการรับคีย์จากผู้ใช้ โปรแกรมexmysql18.php เป็นการลบข้อมูลจากคีย์ของผู้ใช้ โปรแกรมexmysql19.php ใช้สำหรับค้นหาเพื่อลบต่อไป โปรแกรมexmysql20.php ค้นหาข้อมูลแล้วแสดงผล โปรแกรมexmysql21.php ลบข้อมูลตามคีย์
26
ตัวอย่าง โปรแกรม exmysql22.php แสดงผลจากตารางโดยการสลับสี
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.