งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การกลายพันธุ์ Mutation Breeding.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การกลายพันธุ์ Mutation Breeding."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การกลายพันธุ์ Mutation Breeding

2 การกลายพันธุ์ ในสภาพธรรมชาติ การกลายพันธุ์เกิดขึ้นอยู่ตลอดเวลา แต่ในสัดส่วนที่ต่ำ มนุษย์ชักนำให้เกิดการ กลายพันธุ์

3 การกลายพันธุ์ ชนิดของการกลายพันธุ์ point mutation แบบ deletion
UAU UAC UGU AAU AAA Tyr Tyr Cys Asn Lys UAU ACU GUA AUA AA Tyr Thr Val Ile

4 การกลายพันธุ์ แบบ insertion UAU ACU GUA AUA AA Tyr Thr Val Ile
UAU AUA CUG UAA UAA A Tyr Ile Leu stop

5 การกลายพันธุ์ 2. chromosome mutation deletion ชิ้นส่วน C ขาดหายไป
A B C D E A B D E

6 การกลายพันธุ์ insertion ชิ้นส่วน C เพิ่มขึ้นมา P Q R S T P Q R S C T

7 การกลายพันธุ์ การวกกลับ (inversion) A B C D E D C A B E A B D C E

8 การกลายพันธุ์ การสลับแท่งข้ามของโครโมโซม 2 แท่ง A B C D E X Y Z
A B C Z X Y D E

9 การกลายพันธุ์ 3. genome mutation ploidy level change
4. extranucleus mutation การกลายพันธุ์ที่เกิดในส่วนอื่นๆ ที่นอกเหนือจากนิวเคลียส เช่น คลอโรพลาสต์ ไมโตครอนเดรีย

10 การกลายพันธุ์ การชักนำให้เกิดการกลายพันธุ์ในพืช มี 2 วิธีการหลัก
การใช้รังสี การใช้สารเคมี

11 การกลายพันธุ์ การใช้รังสี X-ray
คลื่นสั้น อำนาจทะลุทะลวงดี ได้มาจากคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า กระแสไฟฟ้าเร่งให้ e- วิ่งในสภาพสูญญากาศ ชนกัน Mo or Tangsten ปล่อยโฟตอน

12 การกลายพันธุ์ 2. Gamma-ray
คลื่นแม่เหล็ก ได้มาจากสารกัมมันตภาพรังสีและเครื่องปรมาณู ได้แก่ Cobalt-60 or Cesium-137 เป็นคลื่นที่มีอันตราย มีอำนาจการทะลุทะลวงสูง

13 การกลายพันธุ์ 3. Neutron
ได้มาจากการแตกตัวของ Uranium-235 ใน atomic reactor มีอำนาจทะลุทะลวงสูง ก่อให้เกิดโครโมโซมแตกหักได้ง่าย

14 การกลายพันธุ์ 4. Beta-radiation
เป็นรังสีประจุลบ ได้มาจาก P-32 หรือ C-14 มีอำนาจทะลุทะลวงต่ำกว่า x-ray และ gamma-ray

15 การกลายพันธุ์ 5. Ultraviolet radiation
รังสีที่มีความยาวคลื่นอยู่ที่ nm ชักนำให้เกิดการกลายพันธุ์ได้ แต่เกิดอย่างช้าๆ ได้ผลดีในละอองเรณู นิวคลีอิกแอซิก ดูดซับความยาวคลื่นได้ดี

16 การใช้รังสี แบบเฉียบพลัน (Acute Application)
เป็นการให้รังสีในปริมาณที่ต้องการในระยะเวลาที่สั้น นาที-ชม. เช่น 300 Gy ภายใน 5 นาที

17 การใช้รังสี 2. แบบต่อเนื่อง (Chronic Application)
เป็นการให้รังสีในปริมาณที่ต้องการในปริมาณที่น้อย แต่ให้ในระยะเวลาที่นาน สัปดาห์-เดือน เช่น ต้องการให้ได้รับรังสี 300 Gy จะเริ่มให้รังสีที่ 1 Gy/วัน

18 การให้รังสีแก่พืช G ความเข้มของรังสี เป็นสัดส่วนกับระยะทางจากแหล่งกำเนิดพลังงาน

19 การใช้รังสี ผล การให้แบบเฉียบพลันให้ผลดีน้อยกว่าการให้แบบต่อเนื่อง เนื่องมาจากการให้ในปริมาณที่มากและระยะเวลาสั้น ทำให้เกิดการแตกหักของชิ้นส่วนของโครโมโซมหรือ DNA มากกว่า

20

21

22 การกลายพันธุ์ การใช้สารเคมี
แบ่งออกเป็น 7 กลุ่มด้วยกัน นิยมใช้กับเมล็ด หรือชิ้นส่วนของพืช เช่น กิ่งชำ โดยการแช่เมล็ดหรือชิ้นส่วนลงไปในสารเคมี

23 การกลายพันธุ์ การใช้สารเคมี Base analogues
5- bromo-uracil, 2-aminopurine 2. Antibiotics Azaserine, mitomycin C, streptonigrin, antiomycin D

24 การกลายพันธุ์ การใช้สารเคมี 3. Akylating agents sulfur mustards
nitrogen mustards epoxides

25 การกลายพันธุ์ ethyleneimines sulfate, sulfonates diazonalkanes
nitroso compounds 4. Azide Sodium azide

26 การกลายพันธุ์ การใช้สารเคมี 5. Hydroxylamine 6. Nitrous acid
7. Acridines

27 การกลายพันธุ์ ข้อดีการใช้สารเคมี ชักนำให้เกิดการกลายพันธุ์เฉพาะจุด
โครโมโซมไม่เกิดความเสียหาย โอกาสการเกิดการกลายพันธุ์สูง

28 การกลายพันธุ์ ข้อควรระวังการใช้สารเคมี
ความเข้มข้นและระยะเวลาต้องเหมาะสม pH ต้องเหมาะสม อาจเป็นอันตรายต่อพืช อันตรายต่อผู้ใช้ ก่อให้เกิดมะเร็งได้

29 การกลายพันธุ์ ข้อควรระวังการใช้สารเคมี
4. น้ำที่ใช้ควรเป็น deionized water 5. half life นาน มีพิษตกค้างได้นาน

30 การกลายพันธุ์ วิธีการที่นิยมใช้
รังสี มีการชักนำให้เกิดการกลายพันธุ์ในพืชที่มีการปลูกเป็นการค้ากันมาก โดยเฉพาะพืชทางพืชสวน

31 การกลายพันธุ์ เมล็ด ในการชักนำให้เกิดการกลายพันธุ์ต้องมีการวางแผนให้ดี มีcontrolด้วย ควรใช้สายพันธุ์ที่เป็นสายพันธุ์แท้ ระวังมิให้มีการผสมพันธุ์ข้ามกับพันธุ์ปกติ

32


ดาวน์โหลด ppt การกลายพันธุ์ Mutation Breeding.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google