ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
Bypass protein in Dairy cows
N-metabolism, urea & Bypass protein in Dairy cows ANS 443/ 2013 Assoc. Prof. Dr. Boonlom Cheva-Isarakul
2
Nitrogenous compound True protein vs NPN True protein – amino acids
**EAA: T T V A H I L L P M T………………T……………….V…………... A H……………….I………….. L………………L……………… P………………M…………….. **Non EAA: A …………….A……………A…………. G………….. G……………G………….. C…………….C…………….P……………S………. Source of protein…a) animal…………….. b) plant……………..
3
Non protein nitrogen (NPN)
Nucleic acids (………………….) Amine e.g. histamine Amide e.g. urea Nitrate (……) Nitrite (……) Alkaloid e.g.…………………… Amonium salt ……………
4
Histamine (am…...) Nicotine urea Nucleic acids Amino acid (al…….)
6
Metabolizable Protein
Feed Intake Intestines Muscle/Tissues Non-Protein Nitrogen Carbohydrates Metabolizable Protein Amino Nitrogen Amino Acids Microbial protein Bypass Protein Rumen Milk & Milk Protein
7
NPN vs natural protein Biuret 40.7 254.4
N(%) CP(%) B/kg B/100 g CP Biuret Urea,fertilizer Soybean meal Fish meal %CP = % N x …… . Urea contains high N with lower price. It can decrease feed cost, but dangerous. Caution has to be made
8
metabolism ของยูเรียในรูเมนโดยจุลินทรีย์
ต้องมีคาร์โบไฮเดรตที่ย่อยได้ง่าย เพื่อให้ทันกับการสลายตัวของยูเรีย
9
ข้อแนะนำในการใช้ยูเรีย
ผสมให้เข้ากัน อย่าให้จับตัวเป็นก้อน ใช้เลี้ยงสัตว์เคี้ยวเอื้องเท่านั้น อย่าใช้กับลูกโคหรือสัตว์กระเพาะเดี่ยว ต้องให้อาหารคาร์โบไฮเดรตที่ย่อยได้ง่ายอย่างเพียงพอ เช่น กากน้ำตาล ธัญพืช ต้องเสริมแร่ธาตุให้เหมาะสม เช่น Ca, P, Co, Zn คำนวณสัดส่วน N : S = 12 – 15 : 1
10
6. ต้องใช้สัตว์มีระยะปรับตัว 5-7 วัน อย่าใช้เลี้ยงสัตว์ที่หิว
7. ให้อาหารผสมยูเรียครั้งละน้อย ๆ แต่บ่อยครั้ง 8. อย่าผสมกับเมล็ดพืชที่มี urease เช่น ถั่วเหลืองดิบ 9. ต้องมีน้ำให้ดื่มอย่างเพียงพอ 10. ใช้ยูเรียไม่เกิน 3% ของอาหารข้น หรือ 1% ของอาหารทั้งหมด (โคนมสูงให้ 1.5% ของอาหารข้น) or 30 g/100 kg BW, 30% of total N
11
ปัญหาของการใช้ยูเรีย
ได้รับยูเรียมาก จะเกิดการแตกตัวเป็นแอมโมเนียเร็ว ถ้ามีคาร์โบไฮเดรตที่ย่อยได้ง่ายไม่เพียงพอ จะเป็นอันตราย และถ้า pH ใน rumen สูง การดูดซึมจะเร็วขึ้น เกิดเป็นพิษ ตับมีหน้าที่ในการกำจัดสารพิษ โดยอาศัย urea cycleเปลี่ยนแอมโมเนียให้เป็นยูเรีย ซึ่งมีพิษน้อยกว่า O Detoxification Liver NH NH2 – C – NH2 เป็นพิษ ยูเรีย Urea cycle
12
Urea cycle
13
ทำให้ขับ CO2 ออกจากเลือดได้น้อยลง
NH3 เป็น alkali blood pH เพิ่มขึ้น ทำให้ขับ CO2 ออกจากเลือดได้น้อยลง ถ้า Blood CO2 สูง ตาย Toxic level 80 mg % NH3 in rumen
14
อาการเป็นพิษเนื่องจากแอมโมเนีย
(เกิดภายใน นาที) Blood ammonia > 10 mg/l * กระวนกระวาย กล้ามเนื้อชักกระตุก น้ำลายไหล ชัก ท้องอืด หายใจลำบาก ปัสสาวะถี่ เดินโซเซ ล้มตัวลงนอน Blood ammonia > 30 mg/l * สัตว์จะตาย (ภายใน 1-2 ชั่วโมง)
15
การแก้พิษของแอมโมเนีย
* กรอกปากด้วยกรดอะซิติก 5% 2-3ลิตร ก่อนชัก * กรอกด้วยน้ำส้มสายชู 5-6 ลิตร ผสมน้ำเย็น ลิตร (เพราะ )
16
การทำให้ยูเรียแตกตัวช้าลง
* อาจทำในรูปของผลิตภัณฑ์ Starea, cassarea โดยผสมยูเรียกับธัญพืช หรือ มันเส้นที่บดละเอียด นำไปผ่านความร้อน+ความด้น (อาจใช้เครื่อง extruder) แป้งจะเกิดการ gelatinization ทำให้ยูเรียถูกปล่อยออกมาช้าๆ (slow release) มีความปลอดภัยต่อสัตว์มากขึ้น สามารถใช้ในระดับสูงขึ้นได้
17
การใช้ยูเรียให้ปลอดภัยคือต้องพยายามให้เกิดการสลายตัวช้า เช่น ทำเป็น urea molasses block (UMB) อาจผสมแร่ธาตุด้วยก็ได้ ให้สัตว์เลียกินอย่างช้าๆ อย่าให้เคี้ยวกิน เพราะอาจทำให้ตายได้ ผลงานของภาควิชาสัตวศาตร์ มช. + ศ. วิจัยและบำรุงพันธุ์สัตว์ เชียงใหม่ สันป่าตอง
18
การปรับปรุงคุณภาพฟางข้าวอาจทำโดย
Urea treated rice straw (UTS) ฟางข้าวเป็นอาหารหยาบคุณภาพต่ำ มี CP 3 - 5%, NDF % Low palatability, digestibility, minerals & vitamins การปรับปรุงคุณภาพฟางข้าวอาจทำโดย Physical method: grinding, cutting, soakingไม่ค่อยได้ผล Chemical method: NaOH, Ca(OH)2, NH3, urea treatment Microbial method: เพาะเชื้อรา ฟางหมัก (UTS) หญ้าหมัก ( ) ทั้งสองชนิดนี้ใช้หลักการต่างกัน
19
Urea : water : rice straw = 4–6 : 70 : 100
Urea treated rice straw O urease H2O 2NH3 + CO2 NH2 - C - NH2 2H2O Urea 2 NH4OH Degrade cell wall Urea : water : rice straw = 4–6 : 70 : 100 นำยูเรีย 5 กก ละลายน้ำ 70 ลิตร ราดลงบนฟาง 100 กก ย่ำให้ทั่ว ทำเป็นชั้นๆ ปิดกองด้วยผ้าพลาสติก ทิ้งไว้ประมาณ 3 สัปดาห์หรือจนกว่าจะต้องการใช้ เปิดกองให้ ammonia ระเหยสักครู่ก่อนนำมาเลี้ยงโค
20
ผลของการปรับปรุงคุณภาพฟางด้วยยูเรีย
ฟางมีสีน้ำตาลเข้มขึ้น มี N เพิ่มขึ้น (เพิ่มจาก 3.5 เป็น 8% CP) มีความอ่อนนุ่ม น่ากินขึ้น ( increase palatability) มีการย่อยได้ดีขึ้น นิยมทำในช่วงที่ขาดแคลนอาหารหยาบคุณภาพดี ในต่างประเทศอาจใช้แก๊สแอมโมเนีย
21
ประเภทของโปรตีนในสัตว์เคี้ยวเอื้อง
โปรตีนที่ย่อยสลายในรูเมน (RDP, rumen degradable pro) หรือ Degradable intake protein (DIP) โปรตีนที่ไม่ย่อยสลายในรูเมน (RUP, rumen undegradable pro) หรือ Undegradable intake protein (UIP) = โปรตีนไหลผ่าน (Bypass protein) โคที่ให้นมสูงจะต้องการ bypass protein มาก เพราะได้รับจาก microbial protein ไม่พอ
22
โปรตีนคุณภาพต่ำ ควรให้ย่อยสลายในรูเมน เพื่อสร้างเป็น microbial protein
ซึ่งมีคุณภาพดีกว่าเดิม (กำไร) เพราะ microbial protein มีคุณภาพค่อนข้างดี โปรตีนคุณภาพสูง ควรทำให้ bypass มาก เพราะถ้าย่อยในรูเมน จะได้ NH3 & microbial protein ซึ่งมีคุณภาพต่ำกว่าเดิม & เกิดการสูญเสีย (ขาดทุน)
23
การเพิ่ม bypass protein
1.เลือกชนิดของวัตถุดิบ แต่ละชนิดไหลผ่านได้ต่างกัน 2. ทำการป้องกันการย่อยสลาย (protect) โดยวิธี *1. Heat treatment ความร้อนเปียก ดีกว่า แห้ง *2. Chemical treatment e.g. formaldehyde, tannin งานวิจัยที่ มช. พบว่า ใช้ 0.3% formaldehyde ได้ผลดี ลดการย่อยสลายในรูเมน แต่ย่อยได้ดีในลำไส้เล็ก ทดลองผสมอาหารเลี้ยงโคนม (feeding trial) ได้ผลใกล้เคียงกับการใช้ปลาป่น
24
Determine rumen degradability by nylon bag technique
Treating soybean meal with 0.3%formaldehyde Determine rumen degradability by nylon bag technique
25
USBM TSBM* FM FCM = ……….. แปลว่า............................
Performance of cows fed treated soybean meal (TSBM) compare to untreated SBM (USBM) and fish meal USBM TSBM* FM 4% FCM FCR (feed DM/4% FCM) Income over feed (B/4% FCM) * Used formaldehyde treated soybean meal at 7% of concentrate ration Source: Cheva-Isarakul et al. (2003): CMU + DLD FCM = ……… แปลว่า DLD = ……………..
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.