ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
ภาพรวมงานวิจัยหน่วยงาน
ศูนย์วิจัยและฝึกอบรมที่สูง คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
2
ศูนย์วิจัยและฝึกอบรมที่สูง
เกิดจากการหลอมรวมของ 3 หน่วยงาน ภายในคณะฯ สถานีวิจัยและศูนย์ฝึกอบรมเกษตรที่สูง (พ.ศ ) ศูนย์วิจัยและพัฒนากาแฟบนที่สูง (พ.ศ ) แผนงานการฝึกอบรมและพัฒนาวิชาการเกษตรที่สูง (พ.ศ )
3
บุคลากร ผู้บริหาร 4 อัตรา อาจารย์ 0 อัตรา นักวิชาการเกษตร 5 อัตรา
ผู้บริหาร อัตรา อาจารย์ อัตรา นักวิชาการเกษตร อัตรา พนักงานมหาวิทยาลัย อัตรา ลูกจ้างประจำ อัตรา ลูกจ้างชั่วคราว อัตรา ลูกจ้างโครงการวิจัย 2 อัตรา บุคลากรที่ทำงานวิจัยโดยตรง 7 คน (หัวหน้าหรือผู้ร่วมโครงการ)
4
ภาพรวมงานวิจัย ปี 2546-2548 ลักษณะโครงการ จำนวนโครงการ งบประมาณ 2546
2546 2547 2548 ชุดโครงการ 1 702,800 443,800 449,800 โครงการเดี่ยว 4 3 5 128,000 550,000 ร่วมกับหน่วยงานอื่น รวม 6 7 830,800 571,800 999,800
5
แผนงานวิจัยในปี 2549 ลักษณะโครงการ จำนวนโครงการ งบประมาณ ชุดโครงการ 1 966,200 โครงการเดี่ยว 7 1,445,330 โครงการบูรณาการ 1,144,900 ร่วมกับหน่วยงานอื่น 2 รวม 3,556,430
6
1. ชุดโครงการที่เสนอของบประมาณปี พ.ศ. 2549
แผนงานวิจัยในปี 2549 1. ชุดโครงการที่เสนอของบประมาณปี พ.ศ. 2549 การเพิ่มศักยภาพในการใช้ทรัพยากรบนพื้นที่สูงเพื่อการเกษตรพอเพียงและยั่งยืน 1.1 การใช้ถั่วไมยราบไร้หนามในการฟื้นฟูและเพิ่มความอุดมสมบูรณ์กับดินที่เสื่อมสภาพบนพื้นที่สูงโดยชุมชนแบบมีส่วนร่วม 1.2 การจัดการที่หลากหลายภายใต้ทรงพุ่มสวนลิ้นจี่บนพื้นที่สูงเพื่อการเกษตรพอเพียงและยั่งยืน 1.3 การป้องกันกำจัดครั่งบนต้นลิ้นจี่แบบผสมผสาน 1.4 วิธีการการสำรองต้นกาแฟอาราบีก้าเพื่อปลูกทดแทนต้นที่ตายในแปลงปลูก 1.5 ความหลากหลายของพืชในระบบการผลิตกาแฟอาราบิก้าเป็นพืชหลัก
7
2. โครงการเดี่ยว 3. โครงการบูรณาการ
2.1 ความหลากหลายของระบบเกษตรและการสร้างมูลค่าเพิ่มจากความหลากหลายของพืชดั้งเดิมบน พื้นที่สูง 2.2 การจัดการทรัพยากรความหลากหลายทางชีวภาพของพืชในระบบการทำไร่หมุนเวียนบนพื้นที่สูงเพื่อสร้างความมั่นคงของระบบการผลิตอาหารและการอนุรักษ์ทรัพยากรพืชพันธุ์พื้นเมืองในระดับท้องถิ่น 2.3 การจัดการส่วนเหลือจากการผลิตกาแฟอราบิก้าในภาคเหนือของประเทศไทย 3. โครงการบูรณาการ พัฒนากระบวนการผลิต การแปรรูป และสร้างมูลค่าเพิ่มของกาแฟอาราบิก้า
8
4. ความร่วมมือกับหน่วยงานอื่นในการพัฒนาโครงการวิจัย
แผนงานวิจัยในปี 2549 4. ความร่วมมือกับหน่วยงานอื่นในการพัฒนาโครงการวิจัย ร่วมมือกับมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวงในการพัฒนาเรื่องชา เพื่อให้เป็นพืชเศรษฐกิจของจังหวัดเชียงราย ร่วมมือกับ สวทช. ในการพัฒนาโครงการกัญชงเพื่อพัฒนาเป็นพืชเศรษฐกิจสำหรับบนพื้นที่สูง
9
การนำเสนอผลงานทางวิชาการและตีพิมพ์โดยบุคคลากรของศูนย์
ระดับชาติ ระดับนานาชาติ
10
ความได้เปรียบและศักยภาพของศูนย์ในการทำวิจัยในอนาคต
ไม่มีการเรียนการสอน ทำให้มีความคล่องตัวในการทำงานวิจัยและบริการวิชาการแก่ชุมชน ทรัพยากรที่มีความพร้อมสำหรับการทำวิจัย - ทรัพยากรบุคคล นักวิชาการ คนงานที่มีทักษะพร้อมในการทำวิจัย - พื้นที่ มีสถานีวิจัย 4 แห่งที่มีสภาพภูมิอากาศที่แตกต่างกัน - การประสานงานอย่างใกล้ชิดกับชุมชนบนพื้นที่สูง - ยานพาหนะที่มีสมรรถนะในการเดินทางเพื่อเก็บข้อมูลและทำวิจัย
11
ขอขอบคุณครับ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.